แผ่นดินไหวในจังหวัดบันเติน พ.ศ. 2561

พิกัด: 7°05′31″S 105°57′47″E / 7.092°S 105.963°E / -7.092; 105.963
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก แผ่นดินไหวในชวา พ.ศ. 2561)
แผ่นดินไหวในจังหวัดบันเติน พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในจังหวัดบันเติน พ.ศ. 2561ตั้งอยู่ในเกาะชวา
แผ่นดินไหวในจังหวัดบันเติน พ.ศ. 2561
เวลาสากลเชิงพิกัด2018-01-23 06:34:54
รหัสเหตุการณ์ ISC616640769
USGS-ANSSComCat
วันที่ท้องถิ่น23 มกราคม ค.ศ. 2018 (2018-01-23)
เวลาท้องถิ่น13:34:50
ขนาด5.9 Mw
ความลึก43.9 กม.
ศูนย์กลาง7°05′31″S 105°57′47″E / 7.092°S 105.963°E / -7.092; 105.963
รอยเลื่อนแผ่นอินเดีย-ออสเตรเลีย
ประเภทตามแนวระดับ
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจังหวัดลัมปุง, จังหวัดบันเติน, จังหวัดชวาตะวันตก, จังหวัดชวากลาง, จาการ์ตา
ระดับความรุนแรงที่รู้สึกได้V (ปานกลาง)
สึนามิไม่
แผ่นดินถล่มไม่ทราบ
แผ่นดินไหวตาม50 ครั้ง ยืนยันแล้ว
ผู้ประสบภัยเสียชีวิต 2 คน
บาดเจ็บ 41 คน

แผ่นดินไหวในจังหวัดบันเติน พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2561 เวลา 13.34:50 น. ตามเวลาอินโดนีเซียตะวันตก (06:34:54 ตามเวลาสากลเชิงพิกัด) แผ่นดินไหวเกิดขึ้นที่เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ใกล้อำเภอเลอบัก[1] แผ่นดินไหวมีขนาด 6.0 Mww ระดับความลึกประมาณ 40 กิโลเมตร[2] ระดับความแรงอยู่ในระดับ V (ปานกลาง) แผ่นดินไหวนี้ได้จัดอยู่ในหมวดหมู่ "แผ่นดินไหวขนาดปานกลางแต่อยู่ในระดับลึก"[3]

แผ่นดินไหวในครั้งนี้มีเมืองได้รับแรงสั่นสะเทือน 5 แห่ง ได้แก่ จังหวัดลัมปุง, จังหวัดบันเติน, จังหวัดชวาตะวันตก, จังหวัดชวากลาง และจาการ์ตา[4] จาการ์ตาเป็นเมืองที่ได้รับแรงสั่นสะเทือนมากที่สุดกว่าเมืองอื่น ตามพลังของรอยเลื่อนอินโด-ออสเตรเลียนไม่สามารถให้แรงสั่นสะเทือนได้มากมายขนาดนั้น[5] มีผู้เสียชีวิต 2 คนจากแผ่นดินไหวในครั้งนี้

ผลกระทบ[แก้]

มีรายงานว่าทรัพย์สินได้รับความเสียหายในจังหวัดบันเตินและจังหวัดชวาตะวันตก มีบ้านเรือนในเลอบักได้รับความเสียหาย 2,760 หลังคา และในซูกาบูมี 3,669 หลังคา ตามลำดับ[6] มีผู้เสียชีวิต 2 คนเนื่องจากหัวใจวาย และอีก 35 คนได้รับบาดเจ็บ[7] ศาลากลางนครเดอปกก็ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวด้วย[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. Shofiana Syatiri, Ana (23 January 2018). "Gempa Guncang Jakarta". Kompas.com. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  2. Mutiara Kami, Indah (23 January 2018). "Gempa Keras Guncang Jakarta". Detik.com. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  3. ANSS. "M 5.9 - 29km SW of Panyaungan Timur, Indonesia". Comprehensive Catalog. U.S. Geological Survey. สืบค้นเมื่อ 27 March 2018 Initially reported as "6.0 - 40km S of Binuangeun, Indonesia".
  4. Sidik Permana, Muhammad (23 January 2018). "Gempa 23 Januari 2018, Begini Kerusakan Parah di 5 Daerah". Tempo. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  5. Cochrane, Joe (23 January 2018). "Earthquake Strikes Off Coast of Indonesia, Panicking Jakarta". New York Times. สืบค้นเมื่อ 13 February 2018.
  6. "3.669 Rumah Rusak di 45 Kecamatan se-Sukabumi Terdampak Gempa Banten" [Banten Earthquake Damaged 3,669 Houses across 45 Sukabumi Districts] (ภาษาIndonesian). Warta Kota. 25 January 2018. สืบค้นเมื่อ 31 January 2018.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  7. "Satu Orang Meninggal akibat Gempa, Pangdam Siliwangi Kerahkan Bantuan Pasukan" [One Person Died from the Earthquake, Siliwangi District Army Commander Sends Assistance] (ภาษาIndonesian). 23 January 2018. สืบค้นเมื่อ 25 January 2018.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  8. "Kantor Wali Kota Depok Rusak Akibat Gempa". Berita Satu. 23 January 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2021.