เอเชียนพาราเกมส์ 2014
หน้าตา
เมืองเจ้าภาพ | อินช็อน เกาหลีใต้ |
---|---|
คำขวัญ | คำขวัญ: คลื่นลูกใหม่ของความรักตอนนี้เริ่มขึ้นแล้ว! |
ประเทศเข้าร่วม | 45 |
นักกีฬาเข้าร่วม | 2,405 |
กีฬา | 23 ชนิด |
พิธีเปิด | 18 ตุลาคม ค.ศ. 2014 |
พิธีปิด | 24 ตุลาคม ค.ศ. 2014 |
ประธานพิธี | จุง ฮง วอน |
สนามกีฬาหลัก | อินช็อนมูนฮักสเตเดียม |
กีฬาเอเชียนพาราเกมส์ 2014 การแข่งขันกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ครั้งที่ 2 จัดขึ้นที่อินช็อน, สาธารณรัฐเกาหลี จะเริ่มเปิดการแข่งขันเปิดวันที่ 18 ตุลาคม 2014 และจะสิ้นสุดในวันที่ 24 ตุลาคม 2014 นักกีฬาประมาณ 2405 คนจาก 45 ประเทศ จะแข่งขันทั้งหมด 23 ชนิดกีฬา
คำขวัญ และ สัญลักษณ์
[แก้]คำขวัญ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ
[แก้]สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการของการแข่งขันเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 8 มีสัญลักษณ์เป็นรูป
สัญลักษณ์นำโชค
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์กีฬา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เพลงประจำการแข่งขัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สนามกีฬาหลัก
[แก้]- อินช็อนมูนฮักสเตเดียม (สนามกีฬาหลัก)
พิธีเปิด - ปิดการแข่งขัน
[แก้]พิธีเปิด
[แก้]พิธีปิด
[แก้]การแข่งขัน
[แก้]ชนิดกีฬา
[แก้]เอเชียนพาราเกมส์ในครั้งนี้ บรรจุชนิดกีฬาทั้งหมด 23 ประเภท
|
ตารางการแข่งขัน
[แก้]แม่แบบ:ปฏิทินกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ 2014
ประเทศที่เข้าร่วม
[แก้]- อัฟกานิสถาน (12)
- บาห์เรน (10)
- บรูไน (11)
- กัมพูชา (3)
- จีน (234)
- ฮ่องกง (125)
- อินเดีย (87)
- อินโดนีเซีย (67)
- อิหร่าน (200)
- อิรัก (66)
- ญี่ปุ่น (298)
- จอร์แดน (23)
- คาซัคสถาน (78)
- เกาหลีเหนือ (9)
- เกาหลีใต้ (335)
- คูเวต (28)
- คีร์กีซสถาน (7)
- ลาว (3)
- เลบานอน (6)
- มาเก๊า (25)
- มาเลเซีย (128)
- มองโกเลีย (61)
- พม่า (26)
- เนปาล (14)
- โอมาน (12)
- ปากีสถาน (11)
- ปาเลสไตน์ (1)
- ฟิลิปปินส์ (40)
- กาตาร์ (12)
- ซาอุดีอาระเบีย (14)
- สิงคโปร์ (52)
- ศรีลังกา (51)
- ซีเรีย (7)
- จีนไทเป (73)
- ทาจิกิสถาน (7)
- ไทย (217)
- ติมอร์-เลสเต (6)
- เติร์กเมนิสถาน (6)
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (61)
- อุซเบกิสถาน (26)
- เวียดนาม (45)
ตารางสรุปเหรียญรางวัล
[แก้]ประเทศที่ได้รับเหรียญทองมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่
อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | จีน | 174 | 95 | 48 | 317 |
2 | เกาหลีใต้ | 72 | 62 | 77 | 211 |
3 | ญี่ปุ่น | 38 | 49 | 56 | 143 |
4 | อิหร่าน | 37 | 52 | 31 | 120 |
5 | อุซเบกิสถาน | 22 | 5 | 4 | 31 |
6 | ไทย | 21 | 39 | 47 | 107 |
7 | มาเลเซีย | 15 | 20 | 27 | 62 |
8 | ฮ่องกง | 10 | 15 | 19 | 44 |
9 | อินโดนีเซีย | 9 | 11 | 18 | 38 |
10 | เวียดนาม | 9 | 7 | 13 | 29 |
ประเทศเจ้าภาพ ; ประเทศเกาหลีใต้
สรุปเหรียญรางวัลที่นักกีฬาไทยได้รับ
[แก้]ในการแข่งขันเฟสปิกเกมส์ครั้งนี้ นักกีฬาไทยสามารถทำผลงานได้ทั้งหมด เหรียญ แบ่งเป็น
- เหรียญทอง จำนวน 21 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
- เหรียญเงิน จำนวน 39 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
- เหรียญทองแดง จำนวน 47 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
การตลาด
[แก้]สิทธิการออกอากาศ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกร็ดการแข่งขัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผู้สนับสนุน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]37°58′N 124°39′E / 37.967°N 124.650°E
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ เก็บถาวร 2014-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ อินช็อน เก็บถาวร 2014-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ก่อนหน้า | เอเชียนพาราเกมส์ 2014 | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
เอเชียนพาราเกมส์ 2010 (กว่างโจว, ประเทศจีน) |
การแข่งขันกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ (18 ตุลาคม - 24 ตุลาคม ค.ศ. 2014) |
เอเชียนพาราเกมส์ 2018 (จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย) |