ข้ามไปเนื้อหา

เอส-400 ตรีอุมฟ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอส-400 ตรีอุมฟ์
นาโต้กำหนดรหัส: เอสเอ-21 โกรว์เลอร์
รถยิงของ ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านอากาศ เอส-400
ชนิดระบบอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ
แหล่งกำเนิดรัสเซีย
บทบาท
ประจำการ28 เมษายน 2550[1]
ผู้ใช้งานรัสเซีย
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบAlmaz-Antey
บริษัทผู้ผลิตFakel Machine-Building Design Bureau
มูลค่าต่อหน่วย$400 ล้านต่อหนึ่งหน่วยยิง (กองพันปืนใหญ่) ซึ่งประกอบด้วย 8 เครื่องปล่อย, ขีปนาวุธ 112 ลูก, พาหนะสั่งการและสนับสนุน
จำนวนที่ผลิต~320 (ในเดือนตุลาคม 2550)[2]
ข้อมูลจำเพาะ

เครื่องยนต์YAMZ-8424.10 Diesel V12
400 HP/294kW
เครื่องถ่ายกำลังYAMZ
กันสะเทือนLeaf spring
ความสูงจากพื้นรถ485 มม.
พิสัยปฏิบัติการ
400 km (40N6 missile)
250 km (48N6 missile)
120 km (9M96E2 missile)
40 km (9M96E missile)

เอส-400 ตรีอุมฟ์ (อังกฤษ: S-400 Triumf; รัสเซีย: C-400 Триумф, Triumph; นาโต้กำหนดรหัส: SA-21 Growler) ก่อนหน้านี้เรียกว่า เอส-300พีเอ็มยู3[3] (อังกฤษ: S-300PMU3) เป็นระบบอาวุธปล่อยนำวิถีต่อต้านอากาศยานที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 (ประมาณพุทธศักราช ๒๕๓๓ ถึง ๒๕๔๒) โดยสำนักออกแบบกลางอัลมาส์กประเทศรัสเซีย เพื่อเป็นรุ่นปรับปรุงใหม่ของตระกูล ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี เอส-300 (อังกฤษ: S-300) มันเริ่มเข้าประจำการในกองทัพรัสเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. 2007) ระบบอาวุธปล่อยนำวิถี เอส-400 ใช้อาวุธปล่อยนำวิถี 4 แบบ เพื่อให้ประสิทธิภาพครอบคลุมทุกระยะยิง ได้แก่ 9M96E (ระยะยิงไกลสุด 40 กิโลเมตร) ในระยะสั้น, 9M96E2/9M96 (ระยะยิงไกลสุด 120 กิโลเมตร) ในระยะกลาง, 40N6E2 (ระยะยิงไกลสุด 200 กิโลเมตร) และ 40N6DM/40N6E3 (ระยะยิงไกลสุด 250 กิโลเมตร) ในระยะไกล และ 40N6E (ระยะยิงไกลสุด 400 กิโลเมตร) ในระยะไกลมาก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ (ค.ศ. 2017) หนังสือพิมพ์ The Economist ได้ให้คำอธิบายไว้ว่า "เป็นระบบป้องกันภัยทางอากาศที่ดีที่สุดตั้งแต่เคยมีการผลิตมา"[4]

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

[แก้]
คุณลักษณะหลักของเอส-400[5]
ความเร็วเป้าหมายสูงสุด 4.8 กิโลเมตรต่อวินาที (17,000 กม./ชั่วโมง; มัค 14)[6]
ระยะตรวจจับเป้าหมาย (กม.) 600
ระยะยิงต่อเป้าหมายอากาศพลศาสตร์ (กม.)
  • สูงสุด
  • ต่ำสุด

400[7]
2[8]
ข้อจำกัดความสูงสำหรับเป้าหมายอากาศพลศาสตร์ (ปี 2558, กม.)
  • สูงสุด
  • ต่ำสุด

27[6](easily)/30,[9] 56[10][11] (9m96e2),[12] ได้สูงสุด 185 (40Н6Е)[13]
0.005(9M96)/0.01(all)
ระยะยิงต่อเป้าหมายขีปนาวุธทางยุทธวิธี (กม.)
  • สูงสุด
  • ต่ำสุด

60
5[14]
จำนวนเป้าหมายที่ยิงพร้อมกัน (full cast WRU) 80[15][16][8][17][18]
จำนวนขีปนาวุธนำวิถีพร้อมกัน (full cast give target designation) 160[8][9][19][20] สามารถใช้ขีปนาวุธ 2 ลูกโจมตี 1 เป้าหมาย[21]
ความพร้อมปฏิบัติการเมื่อได้รับสัญญาณขณะเคลื่อนย้าย (โดยความเข้มสัญญาณก่อนเริ่มรบ) (นาที) 5[22]
ความพร้อมปฏิบัติการเมื่อได้รับสัญญาณขณะพร้อมรบ (นาที) พร้อมและเปิดใช้งานแล้ว 0,6 / พร้อม 3[23]
เวลาระหว่างการซ่อมใหญ่ (ชั่วโมง) 10000
เวลาบริการ (ปี)
  • ศูนย์ภาคพื้นดิน
  • ขีปนาวุธนำวิถีต่อสู้อากาศยาน

อย่างน้อย 20
15
  • ชนิดเป้าหมาย
    • เครื่องบินทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์ เช่น บี-1, บี-2, เอฟบี-111 และบี-52เอช
    • เครื่องบินการสงครามอิเล็กทรทอนิกส์ เช่น อีเอฟ-111เอ และอีเอ-6
    • เครื่องบินลาดตระเวน เช่น ทีอาร์-1
    • เครื่องบินเรดาร์เตือนภัยล่วงหน้า เช่น อี-3เอ และอี-2ซี
    • เครื่องบินขับไล่ เช่น เอฟ-15, เอฟ-16, เอฟ-35 และเอฟ-22
    • อาวุธปล่อยครูซทางยุทธศาสตร์ เช่น โทมาฮอว์ก
    • ขีปนาวุธ (ระยะไกลสุด 3,500 กิโลเมตร)
  • ความเร็วทางรัศมีสูงสุดอเนกประสงค์ 4.8 กิโลเมตรต่อวินาที (17,000 กม./ชั่วโมง; มัค 14); ขีดจำกัดสัมบูรณ์ 5 กิโลเมตรต่อวินาที (18,000 กม./ชั่วโมง; มัค 15); ต่ำสุด 0
  • เวลาตอบสนองของระบบต่ำกว่า 10 วินาที
  • สามารถย้ายศูนย์ทางถนน (60 กม./ชั่วโมง) และนอกถนนด้วยความเร็วสูงสุด 25 กม/ชั่วโมง
  • ราคาต่อ 1 กองพันปืนใหญ่ (ประมาณ 7–8 เครื่องปล่อย) 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
  • โอกาสสำเร็จทางปฏิบัติ 83.3% (สำหรับขีปนาวุธ 1 ลูก) ระยะเคลื่อนย้ายหนึ่งวัน 1,500 กิโลเมตร (ขนส่งทางราง) ทำลาย 10 เป้าหมาย ใช้ขีปนาวุธ 12 ลูก เป้าหมายอยู่ในความสูงสูงมากและต่ำมาก

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ЗРС С-400 Триумф" [S-400 Triumf] (ภาษารัสเซีย). S400.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-10-31. สืบค้นเมื่อ 2013-10-29.
  2. "Game Changer: China Will Soon Have S-400 Air Defense Systems Defending Its Skies". สืบค้นเมื่อ 6 February 2018.
  3. http://nationalinterest.org/blog/the-buzz/russias-s-400-game-changer-the-middle-east-america-should-22760
  4. "Turkey and Russia cosy up over missiles". The Economist. 4 May 2017. สืบค้นเมื่อ 7 May 2017.
  5. "ЗРС "Триумф" – ОАО "НПО «Алмаз"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-03. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  6. 6.0 6.1 Мобильная многоканальная зенитная ракетная система С-400 "Триумф" [Mobile multichannel air defense missile system S-400 "Triumf"] (ภาษารัสเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 January 2014. สืบค้นเมื่อ 30 August 2014.
  7. New missile for the s-400 is already being prepared for serial production «Military parity» (March 18, 2010)
  8. 8.0 8.1 8.2 "ЗРС С-400 "Триумф"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-29. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  9. 9.0 9.1 "Характеристики зенитной ракетной системы С-400". РИА Новости. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  10. "С-400 сумел поразить гиперзвуковые и баллистические цели". lenta.ru.
  11. "Противоракетная защита Москвы пополнится пятым по счету полком С-400". Российская газета.
  12. "ЗЕНИТНАЯ РАКЕТНАЯ СИСТЕМА С-400 "ТРИУМФ", ANTIAIRCRAFT MISSILE SYSTEM S-400 "TRIUMPH"". narod.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-02. สืบค้นเมื่อ 2018-04-16.
  13. сборник, БАСТИОН: военно-технический. "НЕВСКИЙ БАСТИОН, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЙ СБОРНИК, ВООРУЖЕНИЯ, ВОЕННАЯ ТЕХНИКА, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЙ СБОРНИК, СОВРЕМЕННОЕ СОСТОЯНИЕ, ИСТОРИЯ РАЗВИТИЯ ОПК, БАСТИОН ВТС, НЕВСКИЙ БАСТИОН, ЖУРНАЛ, СБОРНИК, ВПК, АРМИИ, ВЫСТАВКИ, САЛОНЫ, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЕ, НОВОСТИ, ПОСЛЕДНИЕ НОВОСТИ, ВОЕННЫЕ НОВОСТИ, СОБЫТИЯ ФАКТЫ ВПК, НОВОСТИ ОПК, ОБОРОННАЯ ПРОМЫШЛЕННОСТЬ, МИНИСТРЕСТВО ОБОРОНЫ, СИЛОВЫХ СТРУКТУР, КРАСНАЯ АРМИЯ, СОВЕТСКАЯ АРМИЯ, РУССКАЯ АРМИЯ, ЗАРУБЕЖНЫЕ ВОЕННЫЕ НОВОСТИ, ВиВТ, ПВН". nevskii-bastion.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2017. สืบค้นเมื่อ 6 February 2017.
  14. "ГСКБ Концерна ПВО Алмаз-Антей имени академика А.А. Расплетина (ОАО НИЭМИ) : с-25 беркут, бункин борис васильевич, с 300 пму, с-300 пму, зрс, с-400 триумф, средства пво, четырёхсотка, противовоздушная оборона". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 April 2014. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  15. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-10. สืบค้นเมื่อ 2018-04-16.
  16. "Зенитный ракетный комплекс С-400 'Триумф'" [Anti-aircraft missile system S-400 'triumph'] (ภาษารัสเซีย). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  17. "Зенитная ракетная система большой и средней дальности С-400 "Триумф"". vpk.name.
  18. "С-400 и С-500 в программе "Военная Тайна"". YouTube. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  19. "Ракеты для С-400 поставят на поток в третьем квартале 2010 года". РИА Новости.
  20. "RusArmy.com – Зенитная ракетная система большой и средней дальности С-400 "Триумф"". rusarmy.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-06. สืบค้นเมื่อ 2018-04-16.
  21. http://www.bbc.com/zhongwen/trad/41261924
  22. "Зенитная ракетная система С-400 "Триумф" в деталях". Военно-патриотический сайт «Отвага». สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  23. "НЕВСКИЙ БАСТИОН, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЙ СБОРНИК, ВООРУЖЕНИЯ, ВОЕННАЯ ТЕХНИКА, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЙ СБОРНИК, СОВРЕМЕННОЕ СОСТОЯНИЕ, ИСТОРИЯ РАЗВИТИЯ ОПК, БАСТИОН ВТС, НЕВСКИЙ БАСТИОН, ЖУРНАЛ, СБОРНИК, ВПК, АРМИИ, ВЫСТАВКИ, САЛОНЫ, ВОЕННО-ТЕХНИЧЕСКИЕ, НОВОСТИ, ПОСЛЕДНИЕ НОВОСТИ, ВОЕННЫЕ НОВОСТИ, СОБЫТИЯ ФАКТЫ ВПК, НОВОСТИ ОПК, ОБОРОННАЯ ПРОМЫШЛЕННОСТЬ, МИНИСТРЕСТВО ОБОРОНЫ, СИЛОВЫХ СТРУКТУР, КРАСНАЯ АРМИЯ, СОВЕТСКАЯ АРМИЯ, РУССКАЯ АРМИЯ, ЗАРУБЕЖНЫЕ ВОЕННЫЕ НОВОСТИ, ВиВТ, ПВН" [Nevsky Bastion, The Military Technical Collection, Weapons, Military Equipment, Military Technical Collection, State of the Art, The History of the Development of the Defense Industrial Complex, The Bastion of the PTS, Nevsky Bastion, Magazine Sampler, Mic, Army, Exhibitions, Showrooms, Military-Technical, News, Latest News, Military News, Events, Facts of the MIC, Mic News Defense Industry, Ministry of Defence, The Security Forces, The Red Army, The Soviet Army, Russian Army, Foreign Military News, A And Me, HRP]. nevskii-bastion.ru (ภาษารัสเซีย). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2017. สืบค้นเมื่อ 30 March 2015.