เสรีภาพทางความคิด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เสรีภาพ
แนวความคิดสำคัญ

อิสรภาพ (เชิงบวก · เชิงลบ)
สิทธิ และ สิทธิมนุษยชน
เจตจำนงเสรี · ความรับผิดชอบทางศีลธรรม

จำแนกตามประเภท

พลเมือง · วิชาการ
การเมือง · เศรษฐกิจ
ความคิด · ศาสนา

จำแนกตามรูปแบบ

แสดงออก · ชุมนุม
สมาคม · เคลื่อนไหว · สื่อ

ประเด็นทางสังคม

การปิดกั้นเสรีภาพ (ในไทย)
การเซ็นเซอร์ · การบีบบังคับ · ความโปร่งใสของสื่อ

เสรีภาพทางความคิด (อังกฤษ: Freedom of thought) คือเสรีภาพของบุคคลในการยึดถือหรือพิจารณาข้อเท็จจริง, มุมมอง, ความคิด, หรือมีอิสรภาพจากความคิดของผู้อื่น และมีความหมายคล้ายกับเสรีภาพในการแสดงออก

คำอธิบาย[แก้]

การปฏิเสธเสรีภาพในทางความคิดของบุคคล เท่ากับเป็นการปฏิเสธเสรีภาพพื้นฐานที่สุดของบุคคล

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

  • George Botterill and Peter Carruthers, ‘The Philosophy of Psychology’, Cambridge University Press (1999), p3
  • The Hon. Sir John Laws, ‘The Limitations of Human Rights’, [1998] P.L. Summer, Sweet & Maxwell and Contributors, p260

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]