เวฟไลต์
หน้าตา
เวฟไลต์ | |
---|---|
กลุ่มผลึกเวฟไลต์ จากเหมือง Mauldin Mountain Quarries, Mauldin Mt., Montgomery County, รัฐอาร์คันซอ | |
การจำแนก | |
ประเภท | แร่ฟอสเฟต |
สูตรเคมี | Al3 (PO4)2 (OH,F)3·5H2O |
คุณสมบัติ | |
สี | เขียวจนถึงเหลืองเขียว, เขียวฟ้าจนถึงฟ้า, ฟ้า, เหลือง, น้ำตาล, ขาวและใส |
รูปแบบผลึก | Spherical, radial aggregates; striated prisms; crusty to stalactitic |
โครงสร้างผลึก | Orthorhombic |
แนวแตกเรียบ | [110] perfect, [101] good, [010] distinct |
รอยแตก | Uneven to subconchoidal |
ค่าความแข็ง | 3.5 - 4 |
ความวาว | วาวแบบแก้ว, ขุ่นมัวคล้ายมุก |
ดรรชนีหักเห | nα = 1.518 - 1.535 nβ = 1.524 - 1.543 nγ = 1.544 - 1.561 |
คุณสมบัติทางแสง | Biaxial (+) |
ค่าแสงหักเหสองแนว | δ = 0.026 |
การเปลี่ยนสี | Weak; X = greenish; Z = yellowish |
สีผงละเอียด | สีขาว |
ความถ่วงจำเพาะ | 2.36 |
การหลอมตัว | ไม่สามารถละลายได้ พองตัวและแตกออกเมื่อให้ความร้อน |
สภาพละลายได้ | ไม่ละลายน้ำ |
ความโปร่ง | โปร่งแสง |
อ้างอิง: [1][2][3][4] |
เวฟไลต์เป็นแร่อะลูมิเนียมฟอสเฟตพื้นฐานที่มีสูตร Al3 (PO4)2 (OH, F)3·5H2O ผลึกมักจะเกิดขึ้นเป็นกระจุกทรงกลมสีเขียวโปร่งแสงหรือทรงกลม มีโอกาสที่ผลึกจะเกิดขึ้นแตกต่างไปจากนี้น้อยมาก[5]
การค้นพบ
[แก้]เวฟไลต์ได้รับการค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2348 ที่ High Down, Filleigh, เดวอน สหราชอาณาจักร และตั้งชื่อโดย William Babington ในปีค.ศ. 1805 เพื่อเป็นเกียรติแก่ Dr. William Wavell (1750–1829)[3] แพทย์ที่มีฐานประจำในเมืองเดวอน นักพฤกษศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักธรรมชาติวิทยา ที่ได้นำแร่มาสู่ความสนใจของนักแร่วิทยาคนอื่นๆ[6][3][5][7]
การเกิด
[แก้]เกิดขึ้นร่วมกับแครนดัลไลต์และวาริสไซต์ในการแตกหักในหินแปรประเภทอะลูมินัสและในหินฟอสเฟต[1] พบได้ในสถานที่ต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะในภูเขาไอดา รัฐอาร์คันซอบริเวณเทือกเขาวาชิตา
บางครั้งเวฟไลต์ถูกนำไปใช้เป็นอัญมณีด้วยเช่นกัน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Handbook of Mineralogy
- ↑ Webmineral
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Mindat
- ↑ Klein, Corneis and Cornelius S. Hurlbut, Jr., Manual of Mineralogy, Wiley, 20th ed. 1985, p. 362-3 ISBN 0-471-80580-7
- ↑ 5.0 5.1 Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 28 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 430.
- ↑ Green, David; Cotterell, Tom; Jones, I.; Cox, D.; Cleevely, R. (2007). "Wavellite: its discovery and occurrences in the British Isles". UK Journal of Mines and Minerals. 28: 11–30.
- ↑ Curtis, Samuel and Hooker, William Jackson (1827). Memoirs of the Life and Writing of the Late Mr. William Curtis, Curtis's Botanical Magazine; or Flower Garden Displayed, v. 1 (new series), v-xxxii.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เวฟไลต์
- "Wavellite at museum of Barnstaple and North Devon". สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2023.