แย็ลกาวา

พิกัด: 56°38′54″N 23°42′50″E / 56.64833°N 23.71389°E / 56.64833; 23.71389
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เยลกาวา)
แย็ลกาวา
เมือง
ภาพทางอากาศของเมืองแย็ลกาวา
ภาพทางอากาศของเมืองแย็ลกาวา
ธงของแย็ลกาวา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของแย็ลกาวา
มหาลัญจกร
ตราราชการของแย็ลกาวา
ตราอาร์ม
แย็ลกาวาตั้งอยู่ในประเทศลัตเวีย
แย็ลกาวา
แย็ลกาวา
ที่ตั้งเมืองแย็ลกาวาในประเทศลัตเวีย
พิกัด: 56°38′54″N 23°42′50″E / 56.64833°N 23.71389°E / 56.64833; 23.71389
ประเทศ ลัตเวีย
สิทธิเมืองค.ศ. 1573
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีAndris Rāviņš[1] (LZS)
 • จำนวนสมาชิกในสภาเมือง15
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด60.56 ตร.กม. (23.38 ตร.ไมล์)
 • พื้นดิน57.66 ตร.กม. (22.26 ตร.ไมล์)
 • พื้นน้ำ2.9 ตร.กม. (1.1 ตร.ไมล์)
ความสูง13 เมตร (43 ฟุต)
ประชากร
 (2023)[3]
 • ทั้งหมด54,836 คน
 • ความหนาแน่น910 คน/ตร.กม. (2,300 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก)
รหัสไปรษณีย์LV-300(1–9); LV-3024; LV-3035
รหัสโทรศัพท์(+371) 630
เว็บไซต์www.jelgava.lv

แย็ลกาวา (ลัตเวีย: Jelgava, ออกเสียง [jælɡava] ( ฟังเสียง); เยอรมัน: Mitau, ออกเสียง: [ˈmiːtaʊ̯] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองในประเทศลัตเวีย ตั้งอยู่ห่างจากกรุงรีกาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 41 กิโลเมตร มีประชากร 55,336 คน ตั้งอยู่บนที่ราบอุดมสมบูรณ์ อยู่เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง 3.5 เมตร บนฝั่งแม่น้ำลีเยลูเป ผลิตผ้าลินิน น้ำตาลและผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ

เมืองนี้ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1265–1266 โดยกลุ่มอัศวินทิวทอนิก ตกอยู่ใต้การปกครองของรัสเซียใน ค.ศ. 1795 เป็นที่ตั้งกองกำลังของพรรคบอลเชวิกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1919 แต่กองทหารของลัตเวียและลิทัวเนียขับออกจากเมือง ในระหว่าง ค.ศ. 1941–1944 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพเยอรมันเข้ายึดครองเมืองนี้

ชื่อ[แก้]

ก่อน ค.ศ. 1917 เมืองนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มีเทา (Mitau) เชื่อว่าคำว่า "แย็ลกาวา" มีที่มาจากศัพท์ภาษาลิโวเนียว่า jālgab แปลว่า "เมืองบนแม่น้ำ"[4] ต้นกำเนิดชื่อเมือง Mitau ในภาษาเยอรมัน ยังไม่เป็นที่กระจ่าง แต่มีผู้เสนอว่ามาจากศัพท์ภาษาลัตเวียว่า mīt หรือ mainīt หมายถึง "แลกเปลี่ยน" หรือ "ค้า" จึงมีความหมายว่า "สถานที่ทำการค้า"

เมืองพี่น้อง[แก้]

แย็ลกาวาเป็นเมืองพี่น้องในเมืองดังนี้:[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. Jelgava City municipality web page เก็บถาวร 30 กันยายน 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. "Reģionu, novadu, pilsētu un pagastu kopējā un sauszemes platība gada sākumā". สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2023.
  3. "Iedzīvotāju skaits pēc tautības reģionos, pilsētās, novados, pagastos, apkaimēs un blīvi apdzīvotās teritorijās gada sākumā (pēc administratīvi teritoriālās reformas 2021. gadā) 2021 - 2022". สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2023.
  4. Bilmanis, Alfred (1 November 2008). Latvia as an Independent State. Read Books. ISBN 9781443724449 – โดยทาง Google Books.
  5. "Sadraudzības pilsētas". jelgava.lv (ภาษาลัตเวีย). Jelgava. สืบค้นเมื่อ 29 March 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]