ข้ามไปเนื้อหา

เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอฟ-111 อาร์ดวาร์ก
เอฟ-111ซีของกองทัพอากาศออสเตรเลียพร้อมปีกที่กางออกในปีพ.ศ. 2549
ข้อมูลทั่วไป
บทบาทเครื่องบินขับไล่โจมตี
ชาติกำเนิด สหรัฐอเมริกา
บริษัทผู้ผลิตเจเนรัล ไดนามิกส์
สถานะประจำการในกองทัพอากาศออสเตรเลีย
ผู้ใช้งานหลักกองทัพอากาศสหรัฐ
กองทัพอากาศออสเตรเลีย
จำนวนที่ผลิต563 ลำ[1]
ประวัติ
เริ่มใช้งาน18 กรกฎาคม พ.ศ. 2510
ปลดประจำการถูกปลดประจำการจากกองทัพอากาศสหรัฐฯ ในปีพ.ศ. 2541
สายการผลิตอีเอฟ-111เอ ราเวน

เจเนรัลไดนามิกส์เอฟ-111 หรือ เอฟ-111 (อังกฤษ: General Dynamics F-111) เป็นเครื่องบินแบบแรกที่สามารถลู่ปีกได้ โดยมีการเปลี่ยนมุมลู่ปีกเพื่อเสถียรภาพในการบินด้วยความเร็วต่ำและลดแรงต้านเมื่อบินด้วยความเร็วสูง[2] และทำให้เกิดเครื่องบินที่สามารถลู่ปีกได้ตามมาอีก เช่น เอฟ-14 ทอมแคท ซุคฮอย ซู-17 เป็นต้น

ข้อมูลจำเพาะ

[แก้]

ข้อมูลจำเพาะดังต่อไปนี้ [2]

  • เครื่องยนต์ เทอร์โบแฟน แพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ ทีเอฟ 30-พี-30 ให้แรงขับเครื่องละ 8,399 กิโลกรัม *เมื่อใช้สันดาปท้าย 2 เครื่อง
  • กางปีก 19.20 เมตร เมื่อกางปีกเต็มที่
    • 9.74 เมตร เมื่อลู่ปีกเต็มที่
  • ยาว 22.40 เมตร
  • สูง 5.22 เมตร
  • น้ำหนักเปล่า 20,943 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 41,500 กิโลกรัม
  • อัตรเร็วสูงสุด 2.2 มัค ที่ระยะสูง
    • 1.2 มัคที่ระดับน้ำทะเล
  • เพดานบินใช้งาน 15,500 เมตร
  • พิสัยบิน 5,093 กิโลเมตร
  • อาวุธ ปืนใหญ่อากาศ เอ็ม 61 ขนาด 20 มม. 1 กระบอก
    • ระเบิดขนาด 750 ปอนด์ 2 ลูก ในห้องเก็บอาวุธภายในลำตัว
    • สามารถติดตั้งอาวุธที่ใต้ปีกได้ ปีกละ 4 ตำบล

อ้างอิง

[แก้]
  1. Logan 1998, p. 9.
  2. 2.0 2.1 อภิวัตน์ โควินทรานนท์. อากาศยาน 1979 ฉบับเครื่องบิน. กรุงเทพ : เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์, 2522.