เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เขตเศรษฐกิจพิเศษ (special economic zone, SEZ) เป็นพื้นที่ซึ่งกฎหมายทางธุรกิจและการค้าจะมีความแตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศ เขตเศรษฐกิจพิเศษนั้นตั้งอยู่ภายในชายแดนแห่งชาติของประเทศ และจุดมุ่งหมายของพวกเขารวมทั้งดุลการค้าที่เพิ่มมากขึ้น การจ้างงาน การลงทุนที่เพิ่มมากขึ้น การสร้างงาน และการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้ธุรกิจที่ถูกจัดตั้งในเขตนี้มีการนำนโยบายทางการเงินมาใช้ นโยบายโดยทั่วไปเหล่านี้ได้ครอบคลุมถึงการลงทุน การเก็บภาษี การค้าขาย ส่วนที่กำหนดไว้ ศุลกากร และกฏระเบียบแรงงาน นอกจากนี้ บริษัทต่างๆ อาจจะได้รับการเสนอวันหยุดการเก็บภาษี โดยที่เมื่อได้จัดตั้งอยู่ในเขตนี้ พวกเขาจะได้รับช่วงเวลาของการเก็บภาษีที่ต่ำกว่า
การสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยประเทศที่เป็นเจ้าภาพอาจได้รับแรงจูงใจจากความปรารถนาที่จะดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (foreign direct investment, FDI)[1][2] ผลประโยชน์ที่บริษัทจะได้รับจากการตั้งอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาจหมายถึงบริษัทสามารถผลิตและซื้อขายสินค้าคุณภาพดีในราคาที่ถูกลง มุ่งเป้าหมายไปที่การแข่งขันในระดับโลก[1][3] ในบางประเทศ เขตพื้นที่ดังกล่าวได้ถูกพิพากษ์วิจาร์ณว่ามีขนาดใหญ่กว่าค่ายแรงงานเพียงเล็กน้อย กับคนงานถูกปฏิเสธสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐาน[4][5]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWorldBank2011
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อTralac2013
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBusinessToday
- ↑ Watson, Peggy (July 23, 2012). "Sackings expose the harsh reality of Poland's junk jobs". The Guardian.
- ↑ Młodawska, Agata (March 8, 2012). "Maciejewska: Kobiety w strefie pracowniczego bezprawia". Nowe Peryferie.