เกมตัดสินใจ
หน้าตา
เกมตัดสินใจ (อังกฤษ: decision game) เป็นแบบฝึกหัดที่ผู้สอนเสนอสถานการณ์ให้กับผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนยึดบทบาทของตัวละครในสถานการณ์นั้น ๆ พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ปัญหาให้กับตัวละคร หากสถานการณ์มีพื้นฐานจากเรื่องเล่าในอดีตที่เชื่อถือได้ เกมตัดสินใจในที่นี้จะถือว่าเป็นการใช้วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง แต่หากองค์ประกอบของสถานการณ์เป็นเรื่องสมมติ แบบฝึกหัดนี้จะถือว่าเป็น "เกมตัดสินใจแบบสมมติ"[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Gudmundsson, Bruce I. Decision Forcing Cases (PDF). Quantico: Marine Corps University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-21. สืบค้นเมื่อ 2020-09-18.
- Anderson, Scott (2003), Design and Delivery of Tactical Decision Games and Sand Table Exercises (PDF), National Interagency Fire Center, Boise, Idaho, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-01-24, สืบค้นเมื่อ 2020-09-18.
- Gudmundsson, Bruce Ivar (2014), Decision-Forcing Cases (PDF), Marine Corps University, Quantico, Virginia, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-21, สืบค้นเมื่อ 2020-09-18.
- Lausch, Chrichton, and Bayerl (2009), Tactical Decision Games: Developing Scenario-Based Training for Decision-Making in Distributed Teams (PDF), British Computer Society, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03, สืบค้นเมื่อ 2020-09-18.
{{citation}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - Machiavelli, Niccolò (1908), The Prince, (W.K. Marriott, translator), J.M. Dent, London, England, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-13, สืบค้นเมื่อ 2020-09-18.
- von Moltke, Hellmuth (1894), Moltke's Tactical Problems, (Karl von Donat, translator), W.H. Allen, London, England.
- Schmitt, John F. (1994), Mastering Tactics: A Tactical Decision Games Workbook, Marine Corps Association, Quantico, Virginia.