อิลลีย์ยีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อิลลีย์ยีน หรือ อิลลีย์ยูน (อาหรับ: عِلِّيِّين, عِلِّيُّون, อักษรโรมัน: ʿilliyyīn, -ūn แปลตรงตัว: สวรรค์) เป็นคำที่มาจากอัลกุรอานที่อิงถึงสถานที่ "สูงสุด" ที่อยู่เหนือสวรรค์และใกล้บัลลังก์พระเจ้า (อัล-อัรช์) มากที่สุด[1][2] หรือเป็นเคราะห์ดีที่อยู่ในบันทึกของผู้ทำดี (คล้ายกับ ซิจญีน)[3][4]

คำนี้ถูกกล่าวไว้ในซูเราะฮ์ อัลมุฏอฟฟิฟีนของอัลกุรอาน คำตรงข้ามของ อิลลีย์ยีน คือ ซิจญีน[5]

ศัพท์มูลวิทยา[แก้]

คำนี้เป็นคำคุณศัพท์ที่มีความหมายตรงข้ามกันกับ ซิจญีน (ในมุมมองของอัลกุรอาน) โดยเป็นพหุพจน์ของ อะลีย์ยะ (อาหรับ: عَلِيّ) ที่หมายถึง "สูง, สูงส่ง" ซึ่งเป็นคำที่มาจากรากของ ʿ-L-W (ع ل و‎) และมีเสียงคล้ายกันกับคำในภาษาฮีบรูว่า เอลโยน (עֶלְיוֹן) ที่หมายถึง "เหนือกว่า, เหนือที่สุด" หรือ "สูงที่สุด"

ธรรมเนียมชีอะฮ์[แก้]

รายงานจากธรรมเนียมบางส่วนของชีอะฮ์ กลุ่มอะฮ์ลุลบัยต์ถูกสร้างมาจากดินแห่ง อิลลีย์ยีน[6]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Abdul-Rahman, Muhammad Saed (2009). Tafsir Ibn Kathir Juz’ 22 (Part 22): Al-Ahzab 31 To Ya-Sin 27 (ภาษาอังกฤษ). MSA Publication Limited. ISBN 9781861796141. สืบค้นเมื่อ 3 October 2019.
  2. Tafsir Ibn Kathir all 10 volumes (ภาษาอังกฤษ). IslamKotob. สืบค้นเมื่อ 3 October 2019.
  3. Imani, Sayyid Kamal Faqih. An Enlightening Commentary Into the Light of the Holy Qur'an. Tehran, Iran: Imam Ali Foundation. ISBN 9781519112446. สืบค้นเมื่อ 3 October 2019.
  4. Patrick Hughes, Thomas Patrick Hughes Dictionary of Islam Asian Educational Services 1995 ISBN 978-8-120-60672-2 page 200
  5. Abdul-Rahman, Muhammad Saed (2018). Tafsir Ibn Kathir Part 30 of 30: An Nabaa 001 To An Nas 006 (ภาษาอังกฤษ). Muhammad Saed Abdul-Rahman. สืบค้นเมื่อ 3 October 2019.
  6. Mohammad Ali Amir-Moezzi The Divine Guide in Early Shi'ism: The Sources of Esotericism in Islam SUNY Press 2016 ISBN 978-0-791-49479-0 page 166