ข้ามไปเนื้อหา

อัตตัตถนิยม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อัตตัตถนิยม หรือ อัตตานิยม (อังกฤษ: egoism) เป็นปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของตัวตนหรืออัตตา ในฐานะแรงจูงใจและเป้าหมายของการกระทำของตนเอง ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับอัตตัตถนิยมประกอบด้วยแนวคิดที่แตกต่างกันมากมาย โดยทั่วไปสามารถแบ่งประเภทเป็นรูปแบบความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับคุณค่าหรือ เชิงบรรทัดฐาน[1][2] ทฤษฎีเหล่านี้อาจสนใจในการอธิบายว่าผู้คน กระทำ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว หรือกำหนดว่าพวกเขา ควรทำ คำจำกัดความอื่น ๆ ของอัตตัตถนิยมอาจเน้นย้ำถึงการกระทำตามเจตจำนงของตนเองมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตัว และยิ่งไปกว่านั้น ยังระบุด้วยว่านี่คืออัตตัตถนิยมที่แท้จริง[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Moseley, Alexander. "Egoism". Internet Encyclopedia of Philosophy.
  2. Shaver, Robert (2021). "Egoism". ใน Edward N. Zalta (บ.ก.). Stanford Encyclopedia of Philosophy.
  3. Scanlan, James P. (1999). "The Case against Rational Egoism in Dostoevsky's Notes from Underground". Journal of the History of Ideas. University of Pennsylvania Press. 60: 549–567. doi:10.2307/3654018. JSTOR 3654018.