อักษรควบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อักษรควบ หรือ คำควบกล้ำ คือ คำที่ออกเสียงครั้งละหนึ่งพยางค์ แต่อ่านออกเสียงเหมือนสองพยางค์ คำควบกล้ำจะมีสองชนิด คือ

1. คำควบแท้ คือคำที่มีอักษร "ร ล ว" อยู่กลางคำ และอ่านพร้อม ๆ กับอักษรนำ เช่น ขวาง เกรี้ยวกราด แหวน (คำนี้จะเป็นอักษรนำก็ได้)

  • คำว่า "ควร" ไม่ใช่คำควบแท้ เนื่องจากตัว "ว" ออกเสียงสระ "อัว" มีตัวสะกด ซึ่งไม่ใช่ตัวควบกล้ำ

2. คำควบไม่แท้ จะมีคำบางคำที่ไม่ออกเสียงควบและมีพยางค์เดียว (ส่วนใหญ่) เช่น จริง เศร้าโศก เรือ ส่วน "ทร" อ่านออกเสียงเป็น "ซ" เช่น ทราบ ทรุดโทรม พุทรา ฯลฯ

  • คำว่า "นิทรา" ไม่ใช่คำควบไม่แท้ เพราะอ่านว่า นิด-ทฺรา ไม่ใช่ นิด-ซา

ดูเพิ่ม[แก้]