อักษรกล
อักษรกล (อังกฤษ: acrostic) เป็นกวีนิพนธ์หรือคำประพันธ์อื่น ๆ ที่อักษร (หรือพยางค์หรือคำ) แรกของแต่ละบรรทัด (หรือย่อหน้าที่คุณสมบัติปรากฏซ้ำอื่น ๆ ในข้อความ) สะกดออกมาได้เป็นคำ ข้อความ หรือชุดตัวอักษร[1] คำว่า "acrostic" มาจากคำภาษาฝรั่งเศสว่า acrostiche มาจากภาษาละตินสมัยหลังคลาสสิกว่า acrostichis มาจากภาษากรีกคอยนีว่า ἀκροστιχίς มาจากภาษากรีกโบราณว่า ἄκρος ที่แปลว่า "สูงสุด" และ στίχος ที่แปลว่า "บทกวี"[2] อักษรกลเป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนแบบจำกัดเงื่อนไข (constrained writing) สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยจำ เมื่ออักษรท้ายขอแต่ละบรระทัด (หรือคุณสมบัติปรากฏซ้ำอื่น ๆ) รวมมาได้เป็นคำจะเรียกว่า telestich การรวมกันของอักษรกลและ telestich ในองค์ประกอบด้วยกันเรียกว่า อักษรกลคู่ (double acrostic; เช่น Sator Square ภาษาละตินในคริสต์ศตวรรษที่ 1)
ตัวอย่าง
[แก้]ภาษากรีก
[แก้]อักษรที่มีชื่อเสียงในภาษากรีกคือวลีว่า พระเยซูคริสต์ พระบุตรของพระเจ้า พระผู้ช่วยให้รอด อักษรแรกของแต่ละคำสะกะได้เป็นคำว่า ΙΧΘΥΣ (ICHTHYS) ซึ่งมีความหมายว่าปลา:
Ιησοῦς I esoús พระเยซู Χριστός CH ristós คริสต์ Θεοῦ TH eoú ของพระเจ้า Υἱός Y iós พระบุตร Σωτήρ S otêr พระผู้ช่วยให้รอด
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Acrostic Poetry". OutstandingWriting.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-10. สืบค้นเมื่อ 2011-04-30.
- ↑ "s.v. acrostic". Oxford English Dictionary (3rd ed.).
The expected spelling of the English word, on the n., monostich n.
บรรณานุกรม
[แก้]- Adkin, N. (2014). "'Read the edge' Acrostics in Virgil's Sinon Episode". Acta Classica Universitatis Scientiarum Debreceniensis. 50: 45–72.
- Grishin, Alexei A. (2008). "Ludus in undis: an acrostic in Eclogue 9". Harvard Studies in Classical Philology. 104: 237–240. JSTOR 27809339.
- Hejduk, J. D. (2018). "Was Vergil reading the Bible? Original sin and an astonishing acrostic in the Orpheus and Eurydice". Vergilius. 64: 71–102. JSTOR 26542626.