วิทยาเทวี ภัณฑารี
หน้าตา
วิทยาเทวี ภัณฑารี | |
---|---|
विद्यादेवी भण्डारी | |
ภัณฑารีเมื่อปี 2023 | |
ประธานาธิบดีเนปาลคนที่ 2 | |
ดำรงตำแหน่ง 29 ตุลาคม 2015 – 13 มีนาคม 2023 | |
นายกรัฐมนตรี | เคพี ชาร์มา โอลี เชร์ บะฮาดูร เทวา ปุษปกมล ทหาล |
รองประธานาธิบดี | ปรมานันท์ ฌา นันทะ กิศูร ปุน |
ก่อนหน้า | ราม วรัน ยาฑัพ |
ถัดไป | ราม จันทระ ปูเฑล |
รัฐมนตรีกลาโหม | |
ดำรงตำแหน่ง 25 พฤษภาคม 2009 – 6 กุมภาพันธ์ 2011 | |
ประธานาธิบดี | ราม วรัน ยาฑัพ |
นายกรัฐมนตรี | มธัพ กุมาร เนปาล |
ก่อนหน้า | ราม บะฮาดูร ฐาปะ |
ถัดไป | พิชัย กุมาร กฉทร |
รัฐมนตรีสิ่วแวดล้อม และประชากร | |
ดำรงตำแหน่ง 25 มีนาคม 1997 – 7 ตุลาคม 1997 | |
กษัตริย์ | กษัตริย์วิเรนทระ |
นายกรัฐมนตรี | โลเกนทระ บะฮาดูร จันท์ |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
ดำรงตำแหน่ง พฤศจิกายน 1994 – เมษายน 2008 | |
ก่อนหน้า | ทมัน นาถ ธุงคณะ |
ถัดไป | ฌักกู ประสาท สุเพฑี |
เขตเลือกตั้ง | กาฐมาณฑุ–2 |
ดำรงตำแหน่ง มกราคม 1994 – สิงหาคม 1994 | |
ก่อนหน้า | มทัน ภัณฑารี |
ถัดไป | มัน โมหัน อาธิกรี |
เขตเลือกตั้ง | กาฐมาณฑุ–1 |
สมาชิกสภารัฐธรรมนูญ / สภานิติบัญญัติ | |
ดำรงตำแหน่ง 28 พฤษภาคม 2008 – 28 ตุลาคม 2015 | |
เขตเลือกตั้ง | รายชื่อพรรค |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | วิทยา ปาณเฑย 19 มิถุนายน ค.ศ. 1961 มเนภัณชยัง อำเภอโภชปุระ อาณาจักรเนปาล (ปัจจุบันอยู่ในเทศบาลชนบทรามประสาไทร จังหวัดโกศี ประเทศเนปาล |
พรรคการเมือง | พรรคคอมมิวนิสต์ (ร่วมมาร์กซิสต์-เลนนินนิสต์[1] (until 2015) |
คู่สมรส | Madan Bhandari (สมรส 1982; เสียชีวิต 1993) |
บุตร | 2 |
บุพการี | ราม บะฮาดูร ปาณเฑย (บิดา) มิถิลา ปาณเฑย (มารดา) |
การศึกษา | โรงเรียนมัธยมศึกษาวิธโธทยะ โภชปุระ |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยตริภูวัน (BA) |
วิทยาเทวี ภัณฑารี (เนปาล: विद्यादेवी भण्डारी, อักษรโรมัน: Bidya Devi Bhandari, ออกเสียง [bid̚djadebi bʱʌɳɖaɾi]; เกิด 19 มิถุนายน 1961) เป็นอดีตนักการเมืองชาวเนปาบ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเนปาลระหว่างปี 2015-อดีตรัฐมนตรีกลาโหม และสิ่งแวดล้อม เธอเป็นสตรีคนแรกที่ได้เป็นประธานาธิบดีเนปาล[2][3] เธอเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (ร่วมมาร์กซ์-เลนิน)[4][5][6] ก่อนหน้าเป็นประธานาธิบดี ภัณฑารีได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหม ระหว่างปี 2009 ถึง 2011 ถือเป็นสตรีคนแรกที่ดำรงตำแหน่งนี้[7][8][9] รวมถึงเป็นรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมและประชากรในปี 1997 ก่อนหน้านี้เธอทำการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิสตรีในเนปาล[10] ในปี 2016 ฟอบส์ จัดอันดับเธออยู่ที่ 52 ใน 100 รายชื่อสตรีที่ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Profile of Right Honourable President Bidya Devi Bhandari". Office of the President of Nepal (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.
- ↑ "Nepal gets first woman President". The Hindu. 2015-10-28. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
- ↑ "Bidya Devi Bhandari elected first woman President of Nepal". Kantipur News. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
- ↑ "Who is Bidya Devi Bhandari?". Himalayan News. 2015-10-28. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
- ↑ 5.0 5.1 "Bidya Devi Bhandari". Forbes. สืบค้นเมื่อ 2016-06-10.
- ↑ "The Himalayan Times: Oli elected UML chairman mixed results in other posts – Detail News: Nepal News Portal". The Himalayan Times. 15 July 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2014. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
- ↑ "Nepali Times | The Brief » Blog Archive » Enemies within". nepalitimes.com. สืบค้นเมื่อ 22 March 2014.
- ↑ "Women of Nepal". wwj.org.np. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2014.
- ↑ "Related News | Bidya Bhandari". ekantipur.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2014.
- ↑ "Who is Bidya Devi Bhandari? What are the 10 things you need to know about her?".