วิกิพีเดีย:เสนอบทความคุณภาพ/โรคใคร่เด็ก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โรคใคร่เด็ก[แก้]

กำหนดการ
วันที่เสนอ21 เมษายน 2561
เส้นตายรอบแรก5 พฤษภาคม 2561
เส้นตายรอบสอง19 พฤษภาคม 2561
เสนอชื่อโดย ร้อยตรี โชคดี (คุย)
สนับสนุน
คัดค้าน
เสนอแนะการปรับปรุง
  1. ส่วนนำ
    แก้ไขการเว้นเวรรคให้ถูกต้อง
    ย่อหน้าแรก "เด็กปลายวัยรุ่น" น่าจะใช้เป็น "วัยรุ่นตอนปลาย"
    "ต่อเด็กรุ่นก่อนหนุ่มสาว คือก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ โดยทั่วไปอายุ 11 ขวบหรือน้อยกว่า ไม่ว่าจะทำการเนื่องกับความชอบใจนั้นหรือไม่" น่าจะตัดเป็น "ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์" เลยเพราะเป็นการขยายความที่ไม่จำเป็น
    อาจแปลประโยค "Although girls typically begin the process of puberty at age 10 or 11, and boys at age 11 or 12" เสริม
    ย่อหน้าสอง "โรคนี้เรียกว่า pedophilic disorder (ความผิดปกติแบบใคร่เด็ก)" ไม่จำเป็น เพราะภาษาไทยไม่มีไวพจน์
    "ที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นอายุ 16 ปีหรือมากกว่า" ไม่มีในต้นฉบับ
    "fantasy" มีศัพท์บัญญัติว่า "ความเพ้อฝัน"
    "ผู้ที่ตนได้มีกิจกรรมร่วม" แปลผิดจาก act upon
    "distress" น่าจะมีความหมายไปในทางความรู้สึก มากกว่า "เดือดร้อนลำบาก" ที่ให้ความรู้สึกว่าเป็นเรื่องทางกาย
    "กับเด็กวัยหลังจากนั้นที่ยังเรียกว่าเด็กตามกฎหมาย" แปลไม่ได้ความหมายของ pubescent or post-pubescent minors
    "คนที่ทารุณเด็กทางเพศบางครั้งอาจจะมีความผิดปกตินี้" และ "แต่ผู้ทารุณเด็กทางเพศอาจจะไม่ใช่คนใคร่เด็ก" แปลไม่ได้ความหมายของ people who commit child sexual abuse are sometimes pedophiles และ child sexual abuse offenders are not pedophiles unless ตามลำดับ (คำแปลให้ความรู้สึกลังเล แต่ในต้นฉบับระบุแน่ชัด)
    ย่อหน้าที่สาม "ความผิดปกตินี้ รู้จัก" อ่านไม่ลื่นไหล
    "มีงานวิจัยเป็นจำนวนสำคัญที่ทำในเรื่องนี้" คำไม่จำเป็น
    "พบในชาย" แปลผิดจาก documented in men
    "นักวิจัยก็สมมุติว่า ค่าประเมินเกี่ยวกับจำนวนหญิงใคร่เด็กที่มี น้อยกว่าความเป็นจริง" แปลผิดจาก researchers assume available estimates underrepresent the true number of female pedophiles
    แต่มีวิธีบำบัดช่วยลดการทารุณเด็กทางเพศ แปลผิดจาก there are therapies that can reduce the incidence of a person committing child sexual abuse
    "แต่ว่าก็" และ "สภาวะจิตพยาธิ" คำไม่จำเป็น
    ประโยคสุดท้าย "วินิจฉัย" น่าจะใช้ว่า "ได้รับการวินิจฉัย" มากกว่า และ "ถูกขัง" น่าจะใช้ "การสั่งขังในคดีแพ่ง" ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติแทน

--Horus (พูดคุย) 20:38, 21 เมษายน 2561 (ICT)