วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2005

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2005
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ โบลิเวีย
วันที่17–23 กันยายน
ทีม7
สถานที่(ใน ลาปาซ เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 14)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่า ฟาเลสกา เมเนซส์ (BRA)

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2005 (อังกฤษ: 2005 Women's South American Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 26 ของการแข่งขัน ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17–23 กันยายน ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ที่เมืองลาปาซ, ประเทศโบลิเวีย

ประเทศที่เข้าร่วม[แก้]

ทีม

ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติโบลิเวีย โบลิเวีย
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติชิลี ชิลี
ธงชาติเปรู เปรู
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย
ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา

ผลการแข่งขัน[แก้]

แข่ง แต้ม เซต
อันดับ ทีม แต้ม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 12 6 0 450 231 1.948 18 0 MAX
2 ธงชาติเปรู เปรู 11 5 1 424 331 1.281 15 3 5.000
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 10 4 2 447 439 1.018 12 8 1.500
4 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 9 3 3 415 437 0.950 9 11 0.818
5 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 8 2 4 458 512 0.895 9 13 0.692
6 ธงชาติโบลิเวีย โบลิเวีย 7 1 5 344 427 0.806 3 15 0.200
7 ธงชาติชิลี ชิลี 6 0 6 325 491 0.662 2 18 0.111

รอบที่ 1[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
17 กันยายน อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 27–25 25–16 27–29 27-25   106–95
17 กันยายน เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติชิลี ชิลี 25–19 25–16 25–11     75–46
17 กันยายน โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 10–25 12–25 18–25     50–75
18 กันยายน บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติชิลี ชิลี 25–7 25–7 25–8     75–22
18 กันยายน โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย 0–3 ธงชาติเปรู เปรู 18–25 11–25 19–25     48–75
18 กันยายน อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 26–24 25–23 25–18     76–65
19 กันยายน บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 25–8 25–8 25–13     75–29
19 กันยายน อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติชิลี ชิลี 25–19 25–14 21–25 25–16   96–74
19 กันยายน เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–8 25–20 25–20     75–48
20 กันยายน เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 26–24 25–20 25–17     76–61
20 กันยายน โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย 0–3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 19–25 22–25 14–25     55–75
20 กันยายน บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–10 25–10 25–11     75–41

รอบที่ 2[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
21 กันยายน ชิลี ธงชาติชิลี 1–3 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 22–25 25–15 20–25 17–25   84–90
21 กันยายน โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย 0–3 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 17–25 18–25 21–25     56–75
21 กันยายน บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–15 25–14 25–12     75–41
22 กันยายน เวเนซุเอลา ธงชาติเวเนซุเอลา 3–2 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 26–24 22–25 25–21 23–25 15–11 111–106
22 กันยายน โบลิเวีย ธงชาติโบลิเวีย 3–0 ธงชาติชิลี ชิลี 25–18 25–17 25–15     75–50
22 กันยายน เปรู ธงชาติเปรู 3–0 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–20 25–15 25–18     75–53
23 กันยายน เวเนซุเอลา ธงชาติเวเนซุเอลา 3–0 ธงชาติชิลี ชิลี 25–19 25–12 25–18     75–49
23 กันยายน อุรุกวัย ธงชาติอุรุกวัย 3–0 ธงชาติโบลิเวีย โบลิเวีย 25–18 25–17 27–25     77–60
23 กันยายน บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติเปรู เปรู 25–18 25–17 25–13     75–48

อันดับการแข่งขัน[แก้]

อ้างอิง[แก้]