ลุญัยน์ อัลฮัษลูล
ลุญัยน์ อัลฮัษลูล | |
---|---|
เกิด | ญิดดะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย | 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1989
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย[1] |
มีชื่อเสียงจาก | ต่อต้านการห้ามผู้หญิงขับรถในประเทศซาอุดีอาระเบีย |
คู่สมรส | ฟะฮัด อัลบุตัยรี (แต่งงาน ค.ศ. 2014–หย่าร้าง ค.ศ. 2018) |
ลุญัยน์ อัลฮัษลูล (อาหรับ: لجين الهذلول; เกิดวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเคลื่อนไหวสิทธิสตรี บุคคลในสื่อสังคม และอดีตนักโทษทางการเมืองชาวซาอุดีอาระเบีย เธอจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย[2] อัลฮัษลูลเคยถูกจับแล้วปล่อยตัวหลายครั้งในข้อหาขัดขืนการห้ามผู้หญิงขับรถในประเทศซาอุดีอาระเบีย และถูกจับกุมอีกครั้งพร้อมกับนักสิทธิสตรีคนสำคัญหลายคนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2018 ในข้อหา "พยายามทำให้ราชอาณาจักรสั่นคลอน" หลังถูกลักพาตัวในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ข้อมูลเมื่อ ตุลาคม 2018[update] ฟะฮัด อัลบุตัยรี สามีของเธอซึ่งเป็นนักแสดงตลกชาวซาอุดีอาระเบีย ถูกบังคับให้เดินทางจากจอร์แดนกลับราชอาณาจักรและถูกจับกุมในเวลาต่อมา[3][4][5]
อัลฮัษลูลอยู่ในอันดับที่ 3 จากรายชื่อ "สตรีชาวอาหรับผู้ทรงอำนาจมากที่สุดใน 100 อันดับ ประจำปี 2015" (Top 100 Most Powerful Arab Women 2015)[6][7][8][9] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2019 เพนอเมริกาประกาศว่านูฟ อับดุลอะซีซ, อัลฮัษลูล และอีมาน อันนัฟญาน จะได้รับรางวัลเสรีภาพในการเขียนเพนอเมริกา/บาร์บีย์ 2019[10] อัลฮัษลูลยังเป็นหนึ่งใน "100 ผู้ทรงอิทธิพลมากที่สุดใน ค.ศ. 2019" ของนิตยสาร ไทม์[11] เคยเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน ค.ศ. 2019 และ 2020[12] ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2021 มีการประกาศว่าเธอชนะรางวัลสิทธิมนุษยชนวาตสลัฟ ฮาแว็ล 2020[13][14] เธอถูกปล่อยตัวจากเรือนจำในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021[15][16]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Ghoussoub, Michelle (29 May 2018). "Incredibly fierce' UBC graduate among activists detained in Saudi Arabia". CBC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2018.
A graduate of the University of British Columbia is among 10 activists recently arrested in Saudi Arabia. Loujain Al-Hathloul attended UBC between 2009 and 2014, graduating with a degree in French.
- ↑ Ghoussoub, Michelle (22 November 2018). "Concern grows for UBC grad after report Saudi Arabia tortured activists". CBC News. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
- ↑ Hubbard, Ben (8 October 2018). "'Our Hands Can Reach You': Khashoggi Case Shakes Saudi Dissidents Abroad". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
- ↑ "Saudi Arabia: Reveal Fate of Jamal Khashoggi". Human Rights Watch. 11 October 2018.
- ↑ Kristof, Nicholas (26 January 2019). "She Wanted to Drive, So Saudi Arabia's Ruler Imprisoned and Tortured Her". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
- ↑ "The 100 Most Powerful Arab Women 2015: 3. Loujain al-Hathloul". ArabianBusiness.com. 4 March 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2020.
- ↑ Sheffield, Hazel (4 March 2015). "Sheikha Lubna Al Qassimi and Amal Clooney named most powerful Arab women in the world". The Independent. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 October 2017.
Loujain Al Hathloul, at number three on the list, hit the headlines in December after she was arrested for driving across the border from the UAE to Saudi Arabia. She has now been freed from prison after reigniting the debate about women’s right to drive.
- ↑ "21 Saudis among 100 most powerful Arab women". Arab News. 4 March 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2017. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.
Loujain Al-Hathloul from Saudi Arabia is in third place for her achievements on the cultural and social fronts, while Saudi businesswoman Lubna Olayan came in at fourth for her role in the banking and finance sector.
- ↑
"From a retail tycoon to Amal Clooney: meet the Arab World's most powerful women". Al Bawaba. 6 March 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2017.
Loujain Al Hathloul, at number three on the list, hit the headlines in December after she was arrested for driving across the border from the UAE to Saudi Arabia. She has now been freed from prison after reigniting the debate about women’s right to drive.
- ↑ "Nouf Abdulaziz, Loujain Al-Hathloul, Eman Al-Nafjan". PEN America (ภาษาอังกฤษ). 12 September 2019. สืบค้นเมื่อ 13 February 2020.
- ↑ "The 100 Most Influential People of 2019". TIME (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-09-22.
- ↑ "Saudi Arabia jails women's rights activist Loujain al-Hathloul". Deutsche Welle. 28 December 2020.
- ↑ Nadim Aburakia, Marcel (19 April 2021). "Loujain Al-Hathloul wins Vaclav Havel Human Rights Prize". Deutsche Welle. สืบค้นเมื่อ 19 April 2021.
- ↑ Václav Havel Human Rights Prize. "FOCUS ON WOMENS' RIGHTS AS THREE CANDIDATES SHORTLISTED FOR THE 2020 VÁCLAV HAVEL PRIZE".
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Saphora Smith (10 February 2021). "Loujain al-Hathloul, Saudi women's rights activist, released from prison, her family says". NBC News.
- ↑ "Loujain al-Hathloul: Saudi women's rights activist released from prison". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 10 February 2021. สืบค้นเมื่อ 10 February 2021.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- บทความที่มีข้อความที่อาจล้าสมัยตั้งแต่ตุลาคม 2018
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2532
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- 100 สตรี (บีบีซี)
- บุคคลจากญิดดะฮ์
- นักโทษและผู้ถูกกักขังในประเทศซาอุดีอาระเบีย
- ผู้คัดค้านชาวซาอุดีอาระเบีย
- นักนิยมสิทธิสตรีชาวซาอุดีอาระเบีย
- นักโทษและผู้ถูกกักขังชาวซาอุดีอาระเบีย
- นักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนสตรีชาวซาอุดีอาระเบีย
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย
- เหยื่อของการละเมิดสิทธิมนุษยชน
- นักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนสตรี