ลอว์โซน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
2-Hydroxynaphthalene-1,4-dione | |
ชื่ออื่น
2-Hydroxy-1,4-naphthoquinone
กรดเฮนโนแทนนิก Natural Orange 6 C.I. 75480 | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
1565260 | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ดรักแบงก์ | |
ECHA InfoCard | 100.001.361 |
EC Number |
|
4828 | |
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C10H6O3 | |
มวลโมเลกุล | 174.15 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกสีเหลือง |
จุดหลอมเหลว | 195 ถึง 196 องศาเซลเซียส (383 ถึง 385 องศาฟาเรนไฮต์; 468 ถึง 469 เคลวิน) (สลายตัว) |
แทบจะละลายไม่ได้[3] | |
ความอันตราย[4] | |
GHS labelling: | |
เตือน | |
H315, H319, H335 | |
P201, P202, P261, P264, P270, P271, P280, P281, P301+P312, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P308+P313, P312, P330, P332+P313, P337+P313, P362, P403+P233, P405, P501 | |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
100 mg/kg |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แนพโทควิโนนที่เกี่ยวข้อง
|
จักโลน |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ลอว์โซน (อังกฤษ: lawsone) บางครั้งเรียก กรดเฮนโนแทนนิก (hennotannic acid) มีชื่อทางเคมีว่า 2-ไฮดรอกซี-1,4-แนฟโทควิโนน (2-hydroxy-1,4-naphthoquinone) เป็นสีย้อมสีส้มแดง พบในใบของเทียนกิ่งขาว (Lawsonia inermis) และในดอกของผักตบชวา (Eichhornia crassipes)[5] ใช้สารสกัดจากเทียนกิ่งขาวที่มีลอว์โซนเป็นสีย้อมผมและผิวหนังมานานกว่า 5000 ปี ลอว์โซนจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนเช่น เกราทิน ในผิวหนังและผม โดยกระบวนการที่เรียกว่า Michael addition ทำให้สีย้อมติดทนจนกว่าจะถูกเช็ดออก ลอว์โซนสามารถดูดซึมรังสียูวี และสารสกัดมีประสิทธิภาพในการเป็นสารกันแดด ในทางเคมี ลอว์โซนมีความคล้ายจักโลนที่พบในวอลนัท
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
[แก้]แนฟโทควิโนน ลอว์โซนเมทิลเอสเทอร์ และ methylene-3,3'-bilawsone เป็นสารออกฤทธิ์ในใบของพืชชนิด Impatiens balsamina[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Merck Index, 12th Edition, 5406.
- ↑ MSDS เก็บถาวร 2005-12-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ที่ห้องวิจัยเคมีเชิงกายภาพและทฤษฎี (Physical & Theoretical Chemistry Laboratory) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-26. สืบค้นเมื่อ 2015-10-20.
- ↑ "2-Hydroxy-1,4-naphthoquinone". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ Dweck, A. C. (2002). "Natural ingredients for colouring and styling". International Journal of Cosmetic Science. 24 (5): 287–302. doi:10.1046/j.1467-2494.2002.00148.x. PMID 18498522.
- ↑ Sakunphueak, A.; Panichayupakaranant, P. (2010). "Simultaneous determination of three naphthoquinones in the leaves of Impatiens balsamina L. by reversed‐phase high‐performance liquid chromatography". Phytochemical Analysis. 21 (5): 444–50. doi:10.1002/pca.1216. PMID 20931623.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)