ราชโกฏ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชโกฏ
วงเวียนรานีลักษมีบาอี
วงเวียนรานีลักษมีบาอี
ราชโกฏตั้งอยู่ในรัฐคุชราต
ราชโกฏ
ราชโกฏ
พิกัด: 22°18′00″N 70°47′00″E / 22.3000°N 70.7833°E / 22.3000; 70.7833พิกัดภูมิศาสตร์: 22°18′00″N 70°47′00″E / 22.3000°N 70.7833°E / 22.3000; 70.7833
ประเทศอินเดีย
รัฐรัฐคุชราต
แคว้นแคว้นเสาราษฏระ
เขตราชโกฏ
Zone3 (Central, East and West)[1]
Ward23[1][2]
Rajkot Municipal Corporation1973
การปกครอง
 • องค์กร(RMC)
 • นายกเทศมนตรีBinaben Acharya
พื้นที่[3]
 • มหานคร170.00 ตร.กม. (65.64 ตร.ไมล์)
ความสูง128 เมตร (420 ฟุต)
ประชากร
 • มหานคร1,442,975 คน
 • อันดับที่ 29 ที่ 4 (ในรัฐคุชราต)
 • ความหนาแน่น8,500 คน/ตร.กม. (22,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล[5]1,390,640 คน
 • Metro rankที่ 35
เดมะนิมRajkotian
ภาษา
 • ทางการคุชราต, ฮินดี, อังกฤษ
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
PIN360 0XX
รหัสโทรศัพท์0281
ทะเบียนพาหนะGJ-03
Literacy87.80 (2016)%[6]
Planning agency(RUDA)
ClimateSemi-Arid (Köppen)
Precipitation590 มิลลิเมตร (23 นิ้ว)
Avg. annual temperature26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์)
เว็บไซต์www.rmc.gov.in

ราชโกฏ [ราด-ชะ-โกด] (อังกฤษ: Rajkot; ฮินดี: राजकोट; คุชราต: રાજકોટ) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4[7][8] ของรัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เป็นรองเมืองอัห์มดาบาด สุรัต วโฑทรา (Vadodara) ราชโกฏเป็นศูนย์กลางของแคว้นเสาราษฏระ (Saurashtra) ของรัฐคุชราต ราชโกฏเป็นเขตปริมณฑลที่ใหญ่เป็นอันดับ 35 ของอินเดีย มีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน (จากข้อมูล ค.ศ. 2015)[9] ราชโกฏเป็นเมืองสะอาดเป็นอันดับ 18 ของอินเดีย[10] และเป็นเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดเป็นอันดับ 22 ของโลก[11] เมืองเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตราชโกฏ อยู่ห่างจากเมืองหลวงของรัฐ เมืองคานธีนคร 245 กม. และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอาชี (Aji) และนยารี (Nyari) ราชโกฏเคยเป็นเมืองหลวงของรัฐเสาราษฏระตั้งแต่ 15 เมษายน 1948 ถึง 31 ตุลาคม 1956 ก่อนที่จะรวมกับรัฐบอมเบย์เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 1956 แล้วเป็นส่วนหนึ่งของรัฐคุชราตตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 1960

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Statistics". Rajkot Municipal Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ตุลาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2007.
  2. "Ward details". Rajkot Municipal Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ตุลาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2007.
  3. "Statistics". Rajkot Municipal Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ตุลาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2007.
  4. "Rajkot Municipal Corporation Demographics". Census of India. สืบค้นเมื่อ 5 June 2016.
  5. "Rajkot City Census 2011 data". Census2011. สืบค้นเมื่อ 5 June 2016.
  6. Rajkot District Population Census 2011, Gujarat literacy sex ratio and density. Census2011.co.in. Retrieved on 28 July 2013.
  7. (Ahmedabad ranks 7th, Surat 9th, Vadodara 22nd and Rajkot 34th)
  8. http://shodhganga.inflibnet.ac.in/bitstream/10603/3455/8/08_chapter%204.pdf
  9. Census of India Retrieved 2015.
  10. "10 clean cities that make India proud". Rediff. 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 27 July 2015.
  11. "City Mayors World's fastest growing urban areas (1)", Retrieved on 31 December 2016