รถไฟใต้ดินเทศบาลนาโงยะ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
รถไฟใต้ดินเทศบาลนาโงยะ 名古屋市営地下鉄 | |||
---|---|---|---|
![]() ![]() | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
ที่ตั้ง | นาโงยะ | ||
ประเภท | รถไฟใต้ดิน | ||
จำนวนสาย | 7 | ||
จำนวนสถานี | 83 | ||
ผู้โดยสารต่อวัน | 1,171,289 คน | ||
การให้บริการ | |||
เริ่มดำเนินงาน | ค.ศ. 1957 | ||
ผู้ดำเนินงาน | Transportation Bureau City of Nagoya | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 89.1 กิโลเมตร (55.4 ไมล์) | ||
รางกว้าง | 1,435 มม. (4 ฟุต 8 1⁄2 นิ้ว) 1067 | ||
|
รถไฟใต้ดินเทศบาลนาโงยะ (名古屋市営地下鉄) เป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ ประเภทรถไฟใต้ดิน ในเมืองนาโงยะ มีผู้โดยสารมาใช้บริการร้อย 38 ของประชากรทั้งเมือง[1] ดำเนินการโดยสำนักขนส่งนครนาโงยะ ปัจจุบันมีจำนวนหกเส้นทาง[2] ร้อยละ 90% เป็นทางใต้ดิน
เส้นทาง[แก้]
สีและตราสัญลักษณ์ | เส้นทาง | ตัวย่อ | เปิดให้บริการ ครั้งแรก |
เปิดให้บริการ ครั้งล่าสุด |
ระยะทาง | จำนวนสถานี | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เหลือง | ![]() |
สาย 1 | สายฮิงาชิยามะ | H | 1957 | 1982 | 20.6 กิโลเมตร (12.8 ไมล์) | 22 |
ม่วง | ![]() |
สาย 2 | สายเมโจ | M | 1965[Note 1] | 1971 | 8.9 กิโลเมตร (5.5 ไมล์) | 12[Note 2] |
สาย 4 | 1974[Note 3] | 2004 | 17.5 กิโลเมตร (10.9 ไมล์) | 17[Note 2] | ||||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ม่วงและขาว |
สาย 2 | สายเมโก | E | 1971[Note 4] | - | 6.0 กิโลเมตร (3.7 ไมล์) | 7[Note 5] | |
น้ำเงิน | ![]() |
Via trackage rights | รถไฟเมเต็ตสึสายInuyama | - | 1993[Note 6] | - | 21.4 กิโลเมตร (13.3 ไมล์) | 13[Note 7] |
สาย 3 | สายสึรุไม | T | 1977 | 1993 | 20.4 กิโลเมตร (12.7 ไมล์) | 20 | ||
Via trackage rights | รถไฟเมเต็ตสึสายToyota | - | 1979[Note 8] | - | 15.2 กิโลเมตร (9.4 ไมล์) | 8[Note 9] | ||
รถไฟเมเต็ตสึสายMikawa | N/A[Note 10] | - | 1.4 กิโลเมตร (0.87 ไมล์) | 2[Note 9] | ||||
แดง | ![]() |
สาย 6 | สายซากูระโดริ | S | 1989 | 2011 | 19.1 กิโลเมตร (11.9 ไมล์) | 21 |
ชมพู | ![]() |
Via trackage rights | รถไฟเมเต็ตสึสายKomaki | - | 2003[Note 11] | - | 18.3 กิโลเมตร (11.4 ไมล์) | 13[Note 12] |
2003[Note 13] | - | 2.3 กิโลเมตร (1.4 ไมล์) | 2[Note 14] | |||||
สาย 7 | สายคามิอีดะ | K | 2003[Note 15] | - | 0.8 กิโลเมตร (0.50 ไมล์) | 2[Note 16] |
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ Between Ōzone Station, Sakae Station and Kanayama Station (Aichi)
- ↑ 2.0 2.1 Including Ōzone Station
- ↑ Between Ōzone Station, Nagoya Daigaku Station and Kanayama Station (Aichi)
- ↑ Between Kanayama Station (Aichi) and Nagoyako Station
- ↑ Including Kanayama Station (Aichi)
- ↑ Between Inuyama Station and Kamiotai Station
- ↑ Including Kamiotai Station
- ↑ Between Akaike Station and Umetsubo Station
- ↑ 9.0 9.1 Including Akaike Station
- ↑ Between Umetsubo Station and Toyotashi Station
- ↑ Between Inuyama Station and Ajima Station
- ↑ Including Ajima Station
- ↑ Owned by Kamiiida Link Line between Ajima Station and Kamiiida Station
- ↑ Including Ajima Station and Kamiiida Station
- ↑ Owned by Kamiiida Link Line between Kamiiida Station and Heian-dori Station
- ↑ Including Kamiiida Station
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://www.mlit.go.jp/kisha/kisha07/01/010330_3/01.pdf
- ↑ "料金" (in Japanese). Bureau of Transportation City of Nagoya. สืบค้นเมื่อ 25 November 2010. Unknown parameter
|trans_title=
ignored (help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ รถไฟใต้ดินเทศบาลนาโงยะ