ยุทธการที่วิซนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่วิซนา
ส่วนหนึ่งของ การบุกครองโปแลนด์

กองทัพโปแลนด์ตั้งแนวพร้อมปืนต่อต้านรถถังที่วิซนาในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939
วันที่7–10 กันยายน 1939
สถานที่
ผล เยอรมันชนะ
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  โปแลนด์
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ไฮนทซ์ กูเดรีอัน
เฟอร์ดีนันท์ ชาล
Władysław Raginis 
Stanisław Brykalski 
กำลัง
ทหารราบ 41,000 นาย
รถถัง 350 คัน
ปืนใหญ่ 657 อัน
ทหารราบ 900 นาย[1]
ปืน 76 mm 6 อัน
MGs 42 อัน
ปืนไรเฟิลต่อต้านรถถัง 2 อัน
ความสูญเสีย
ไม่ทราบ บาดเจ็บและเสียชีวิตประมาณ 660 นาย
ถูกจับ 40 นาย

ยุทธการที่วิซนาเป็นการสู้รบระหว่างวันที่ 7 กันยายน และ 10 กันยายน ค.ศ. 1939 ระหว่างกองกำลังโปแลนด์และเยอรมนีในช่วงขั้นตอนเริ่มต้นของการบุกครองโปแลนด์ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป Leszek Moczulski นักประวัติศาสตร์ชาวโปแลนด์รายงานว่า มีชาวโปแลนด์ระหว่าง 350 ถึง 720 คนทำแนวป้องกันต่อฝ่ายเยอรมันที่มีมากกว่า 40,000 นายเป็นเวลาสามวัน[1] ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถหลีกหนีความพ่ายแพ้ได้ แนวป้องกันของโปแลนด์ยังคงต้านกองทัพที่โจมตีเป็นเวลาสามวันและทำให้การตีวงในIndependent Operational Group Narewที่ต่อสู้อยู่ข้าง ๆ ต้องเลื่อนออกไป[2] ท้ายที่สุด รถถังสามารถฝ่าแนวของโปแลนด์และวิศวกรชาวเยอรมันจัดการบังเกอร์ทีละหนึ่ง ๆ บังเกอร์สุดท้ายประกาศยอมแพ้ในประมาณช่วงเที่ยงของวันที่ 10 กันยายน[3]

เนื่องจากมีการสู้รบระหว่างกองทัพขนาดเล็กที่ถือครองดินแดนกับผู้รุกรานจำนวนมากภายในสามวันก่อนที่จะถูกกำจัด ทำให้บางครั้งวิซนาถูกเรียกเป็น"เทอร์มอพิลีของโปแลนด์"[4][5]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Moczulski, p.765
  2. Dobroński, p.21
  3. Moczulski, p.767
  4. Wiśniewski, op.cit.
  5. Krajewski, pp.16-17

ข้อมูล[แก้]

บทความ
  • Adam Dobroński (1972). "Pod Wizną". Mówią wieki (ภาษาโปแลนด์). 15 (9).
  • Andrzej Krajewski (2009-09-04). "Polskie Termopile, czyli cud pod Wizną". Polska the Times (ภาษาโปแลนด์): 16–17. ISSN 1898-3081.
  • (ในภาษาโปแลนด์) Zygmunt Kosztyła, Obrona odcinka "Wizna" 1939, BKD (Bitwy, Kampanie, Dowódcy) [7/76], 1976
  • (ในภาษาโปแลนด์) P. Kupidura, M. Zahor, Wizna, Wojskowy Przegląd Techniczny i Logistyczny, nr 3, 1999
  • (ในภาษาโปแลนด์) A. Wiktorzak, Wizna - Polskie Termopile, Głos Weterana, nr 9, 1997
  • BD (1960). Jerzy Bordziłowski (บ.ก.). "Heinz Guderian". Wojskowy Przegląd Historyczny (ภาษาโปแลนด์). V (1/4).
  • Piotr Zychowicz (2011-12-16). "Awans dla Raginisa" [Raginis promoted]. Rzeczpospolita (ภาษาโปแลนด์). Warsaw: Presspublica. 293 (9109): A6. ISSN 0208-9130. OCLC 264077858. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-07. สืบค้นเมื่อ 2011-12-21. Do tej pory uważano, że Raginis dysponował 720 żołnierzami. Analiza nowych źródeł skłoniła nas do przekonania, że nie miał nawet tego. Pod jego komendą mogło znajdować się góra 360 ludzi
หนังสือ
  • Krzysztof Komorowski (2009). Boje polskie 1939-1945 (ภาษาโปแลนด์). Warsaw: Bellona. p. 504.
  • Leszek Moczulski (2009). Wojna polska 1939. wydanie poprawione i uzupełnione (ภาษาโปแลนด์). Warsaw: Bellona. ISBN 978-83-11-11584-2.
  • David G. Williamson (2009). Poland Betrayed: The Nazi-Soviet Invasions of 1939. Stackpole Military History. Mechanicsburg, PA: Stackpole Books. p. 272. ISBN 978-0-8117-0828-9.
  • (ในภาษาโปแลนด์) Kazimierz Stawiński, Bój pod Wizną. Warszawa 1964. Wydawnictwo Ministerstwa Obrony Narodowej.
วิดีโอ-เสียง
  • Leszek Wiśniewski (director), Kamil Wertel (historical editor), Maria Mazurek (producer) (2009). Polskie Termopile [Polish Thermopylae] (ภาษาโปแลนด์). Warsaw: Telewizja Polska.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]