ยึดวอลล์สตรีท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยึดวอลล์สตรีท
ส่วนหนึ่งของ Occupy movement
วันที่17 กันยายน ค.ศ. 2011 (2011-09-17)
สถานที่นครนิวยอร์ก
40°42′33.79″N 74°0′40.76″W / 40.7093861°N 74.0113222°W / 40.7093861; -74.0113222พิกัดภูมิศาสตร์: 40°42′33.79″N 74°0′40.76″W / 40.7093861°N 74.0113222°W / 40.7093861; -74.0113222
สาเหตุWealth inequality, การทุจริตทางการเมือง,[1] corporate influence of government
วิธีการ
จำนวน

สวนซูโคตตี กลุ่มอื่นในนิวยอร์ก:

  • 700+ คนถูกจับ
    (บนสะพานบรูคลิน, 1 ตุลาคม ค.ศ.2011)[2]
  • ผู้ประท้วง 2,000+ คน
    (ที่กองบัญชาการตำรวจ, 2 ตุลาคม ค.ศ.2011)[3]
  • ผู้ประท้วง 15,000+ คน
    (แมนฮัตตันตอนล่าง, 5 ตุลาคม ค.ศ.2011)[4]
  • ผู้ประท้วง 6,000+ คน
    (ไทม์สแควร์, 15 ตุลาคม ค.ศ.2011)[5]
  • ผู้ประท้วง 50,000–100,000 คน
    (วอลล์สตรีท, วันแรงงาน ตุลาคม ค.ศ.2012)[6]

ออคคิวพายวอลล์สตรีท (อังกฤษ: Occupy Wall Street) เป็นชุดการเดินขบวนประท้วงที่เกิดขึ้นที่นครนิวยอร์ก เดิมการประท้วงเรียกร้องโดยกลุ่มกิจกรรมนิยมแคนาดา แอดบัสเตอร์ส (Adbusters) ได้รับแรงบันดาลใจจากขบวนการอาหรับสปริง โดยเฉพาะการประท้วงจัตุรัสตอห์รีร์ (Tahrir Square) ในกรุงไคโร อันเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554 และจากการประท้วงในสเปน[7][8]

ผู้ประท้วงส่วนใหญ่ประท้วงต่อความไม่เท่าเทียมทางสังคมและเศรษฐกิจ ความโลภของภาคธุรกิจ (corporate greed) และอิทธิพลของเงินบรรษัทและนักวิ่งเต้นในรัฐบาล และความกังวลอื่น ๆ[9][10] แอดบัสเตอร์สแถลงว่า "เริ่มต้นจากข้อเรียกร้องง่าย ๆ หนึ่งข้อ [คือ] คณะกรรมาธิการของประธานาธิบดีให้แยกเงินจากการเมือง เราเริ่มต้นจัดวาระให้แก่อเมริกาใหม่"[11] โดยจนถึงวันที่ 1 ตุลาคม การเดินขบวนที่คล้ายกันมีจัดขึ้นในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี., ลอสแอนเจลิส, บอสตัน, ชิคาโก, ไมอามี, พอร์ตแลนด์ รัฐเมน, พอร์ตแลนด์ รัฐโอริกอน, ซีแอตเทิล, เดนเวอร์ และ คลีฟแลนด์ [12] [13]

แม้การประท้วงดังกล่าวจะเสนอโดยนิตยสารแอดบัสเตอร์ส แต่การเดินขบวนดังกล่าวไม่มีผู้นำ[14] นักเคลื่อนไหวจากกลุ่มนิรนามได้กระตุ้นให้ผู้ติดตามมีส่วนในการประท้วง ซึ่งเพิ่มความสนใจแก่กลุ่ม[7] การประท้วงดังกล่าวรวมประชาชนในจุดยืนทางการเมืองต่าง ๆ กันมารวมกัน

อ้างอิง[แก้]

  1. Engler, Mark (November 1, 2011). "Let's end corruption – starting with Wall Street". New Internationalist Magazine (447). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 2, 2013. สืบค้นเมื่อ July 12, 2012.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 700arrest
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Arrests-BBC
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Occupy Wall Street: protests and reaction Thursday October 6
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Auto1Y-1
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Occupy's liberation from liberalism: the real meaning of May Day
  7. 7.0 7.1 Saba, Michael (September 17, 2011). "Twitter #occupywallstreet movement aims to mimic Iran". CNN tech. สืบค้นเมื่อ September 17, 2011.
  8. "Occupy Wall Street | September 17th". Adbusters.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-04. สืบค้นเมื่อ 2011-10-06.
  9. Wall Street protesters: We're in for the long haul Bloomberg Businessweek. Accessed: 3 October 2011.
  10. Lessig, Lawrence (October 5, 2011). "#OccupyWallSt, Then #OccupyKSt, Then #OccupyMainSt". Huffington Post. สืบค้นเมื่อ October 6, 2011.
  11. Adbusters เก็บถาวร 2011-11-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Adbusters, July 13, 2011; accessed September 30, 2011
  12. Occupy Wall Street protest continues in Cleveland
  13. "Occupy Cleveland' growing in size and numbers". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-13. สืบค้นเมื่อ 2011-10-11.
  14. "US protesters rally to occupy Wall Street". September 17, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-19. สืบค้นเมื่อ September 17, 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]