มุฮัมมัด บาซูม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มุฮัมมัด บาซูม
บาซูมเมื่อปี 2023
ประธานาธิบดีไนเจอร์ คนที่ 10
ดำรงตำแหน่ง
2 เมษายน 2021 – 26 กรกฎาคม 2023
นายกรัฐมนตรีอูอูมูดู มาอามาดู
ก่อนหน้ามาอามาดู อีซูฟู
ถัดไปอาบดูราอามาน ชียานี
(โดยพฤตินัย; ในฐานะประธานสภาแห่งชาติเพื่อการคุ้มกันบ้านเกิดเมืองนอน)[1]
อาซูมี มาซาอูดู
(โดยนิตินัย; ในฐานะรักษาการประธานาธิบดีไนเจอร์)
ประธานพรรคประชาธิปไตยและสังคมนิยม
ดำรงตำแหน่ง
มีนาคม 2011 – 20 ธันวาคม 2022
ก่อนหน้ามาอามาดู อีซูฟู
ถัดไปฟูมาโกเย กาโด
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
13 เมษายน 2016 – 1 เมษายน 2021
ประธานาธิบดีมาอามาดู อีซูฟู
นายกรัฐมนตรีบรีกี ราฟีนี
ก่อนหน้าอาซูมี มาซาอูดู
ถัดไปAlkache Alhada
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ดำรงตำแหน่ง
21 เมษายน 2011 – 26 กุมภาพันธ์ 2016
ประธานาธิบดีมาอามาดู อีซูฟู
นายกรัฐมนตรีบรีกี ราฟีนี
ก่อนหน้าอามีนาตู มาอีกา ตูเร
ถัดไปอาอีชาตู บูลามา กาเน
ดำรงตำแหน่ง
1995–1996
ประธานาธิบดีมาอามาน อุสมาน
นายกรัฐมนตรีอามาดู ซีเซ
ก่อนหน้าอาบดูรามาน อามา
ถัดไปอ็องเดร ซาลีฟู
สมาชิกรัฐสภา
ดำรงตำแหน่ง
กุมภาพันธ์ 2005 – ไม่ทราบ
เขตเลือกตั้งไม่ทราบ
ดำรงตำแหน่ง
11 เมษายน 1993 – กรกฎาคม 1995
เขตเลือกตั้งเตสเกร์ (พิเศษ)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด (1960-01-01) 1 มกราคม ค.ศ. 1960 (64 ปี)
Bilabrine, N'guigmi Cercle, ไนเจอร์ของฝรั่งเศส
พรรคการเมืองพรรคประชาธิปไตยและสังคมนิยม
คู่สมรสHadiza Ben Mabrouk
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยชีก อันตา ดีโอป
ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี
ชาติพันธุ์อาหรับดิฟฟา

มุฮัมมัด บาซูม (อาหรับ: محمد بازوم; เกิด 1 มกราคม 1960)[2] เป็นนักการเมืองชาวไนเจอร์ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีไนเจอร์คนที่ 10 ระหว่างปี 2021 ถึง 2023 เขาเข้าสู่ตำแหน่งเมื่อเมษายน 2021 หลังชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2020–21 และหลังความพยายามก่อรัฐประหารที่ไม่สำเร็จ[3] เขาถูกบังคับออกจากตำแหน่งจากการรัฐประหารเมื่อกรกฎาคม 2023 นำโดยกองกำลังรักษาประธานาธิบดีและกองทัพไนเจอร์[4]

ก่อนดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี เขาเคยเป็นประธานพรรคสังคมนิยมและประชาธิปไตย (PNDS-Tarayya)[5] รวมถึงเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจากปี 1995 ถึง 1996 และอีกงาระในปี 2011 ถึง 2016 บาซูมชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในรอบที่สองด้วยคะแนน 55.67% เอาชนะอดีตประธานาธิบดีมาอามาน อุสมาน[6] เขาเป็นมุสลิมซุนนีและถือเป็นชาวอาหรับ (ดิฟฟา) คนแรกที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีไนเจอร์

อ้างอิง[แก้]

  1. BBC News. "Niger coup".
  2. "Биография Мохамеда Базума" [Mohamed Bazoum biography]. RIA Novosti. 27 July 2023. สืบค้นเมื่อ 27 July 2023.
  3. "Niger's Mohamed Bazoum sworn in as president after failed coup". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2 April 2021. สืบค้นเมื่อ 2 April 2021.
  4. Presse, AFP-Agence France. "ECOWAS Head Says Benin President On Mediation Mission To Niger". www.barrons.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 26 July 2023.
  5. "Niger's Bazoum offers stability over democracy". Emerald Expert Briefings. oxan–db (oxan–db). 1 January 2019. doi:10.1108/OXAN-DB243255. S2CID 242418996. สืบค้นเมื่อ 27 December 2020 – โดยทาง Emerald Insight.
  6. "Mohamed Bazoum wins Niger's presidential runoff". Nation. AFP. 23 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.