ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำพุ (ดูว์ช็อง)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Marcel Duchamp, 1917, Fountain, photograph by Alfred Stieglitz.jpg|thumb|''Fountain'' (1917) โดย [[มาร์แซล ดูว์ช็อง]] ถ่ายโดย[[Alfred Stieglitz|อัลเฟรด สตีกลิทซ์]] ขณะจัดแสดงที่หอศิลป์ [[291 (art gallery)|291]] หลังจากนิทรรศการปี 1917 ของ[[Society of Independent Artists|สมาคมศิลปินอิสระ]] ในฉากหลังคือ ''The Warriors'' โดย [[Marsden Hartley|มาร์สเดิน ฮาร์ทลีย์]]<ref name="Tomkins, p. 186">Tomkins, ''Duchamp: A Biography'', p. 186.</ref>]]
[[ไฟล์:Marcel Duchamp, 1917, Fountain, photograph by Alfred Stieglitz.jpg|thumb|''Fountain'' (1917) โดย[[มาร์แซล ดูว์ช็อง]] ถ่ายโดย[[Alfred Stieglitz|อัลเฟรด สตีกลิตซ์]] ขณะจัดแสดงที่หอศิลป์ [[291 (art gallery)|291]] หลังจากนิทรรศการของ[[Society of Independent Artists|สมาคมศิลปินอิสระ]]เมื่อ ค.ศ. 1917 ในฉากหลังคือ ''The Warriors'' โดย[[Marsden Hartley|มาร์สเดิน ฮาร์ตลีย์]]<ref name="Tomkins, p. 186">Tomkins, ''Duchamp: A Biography'', p. 186.</ref>]]


'''''ฟาวน์เทน''''' ({{lang-en|''Fountain''}}) เป็นประติมากรรม[[Readymades of Marcel Duchamp|เรดีเมด]]โดย [[มาร์แซล ดูว์ช็อง]] ในปี 1917 ประกอบด้วย[[Urinal (restroom)|โถปัสสาวะ]][[เครื่องเคลือบ|กระเบื้องเคลือบ]] และลงลายมือชื่อ "R. Mutt" ในเดือนเมษายน 1917 ดูว์ช็องเลือกสุขภัณฑ์ธรรมดาชิ้นนี้ส่งเข้าแสดงในนิทรรศการของ[[Society of Independent Artists|สมาคมศิลปินอิสระ]]ในนิทรรศการปฐมฤกษ์ของสมาคมซึ่งจะจัดขึ้นที่[[Grand Central Palace|แกรนด์เซนทรอลแพเลซ]]ในนครนิวยอร์ก ในผลงานแสดงของดูว์ช็องนั้น ได้มีการจัดวางของโถปัสสาวะมีบางส่วนที่ไม่ตรงกับการจัดวางแบบปกติ<ref name="Tate">{{cite web |url=https://www.tate.org.uk/art/artworks/duchamp-fountain-t07573 |title=''Fountain'', Marcel Duchamp, 1917, replica, 1964 |publisher=Tate |website=tate.org.uk |access-date=5 October 2018}}</ref><ref name="Parkinson">[https://books.google.com/books?id=42zyAHflrxcC Gavin Parkinson, ''The Duchamp Book: Tate Essential Artists Series''], Harry N. Abrams, 2008, p. 61, {{ISBN|1854377663}}</ref><ref name="Judovitz">[https://books.google.com/books?isbn=0520213769 Dalia Judovitz, ''Unpacking Duchamp: Art in Transit''], University of California Press, 1998, pp. 124, 133, {{ISBN|0520213769}}</ref> กระนั้น ผลงาน ''ฟาวน์เทน'' ของเขาไม่ได้ถูกปฏิเสธโดยคณะกรรมการ เนื่องจากสมาคมตั้งกฎไว้ว่าจะรับผลงานทั้งหมดมาจัดแสดงตราบใดก็ตามที่ศิลปินจ่ายค่าธรรมเนียม แต่กระนั้นก็ไม่ปรากฏว่า ''ฟาวน์เทน'' จะถูกจัดแสดงที่ใดในนิทรรศการเลย<ref name="Cabanne, P">[https://books.google.com/books?id=4SNKDgAAQBAJ&pg=PT14 Cabanne, P., & Duchamp, M. (1971). ''Dialogues with Marcel Duchamp''] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20171115143609/https://books.google.com/books?id=4SNKDgAAQBAJ&pg=PT14&dq=cabanne,+Marcel+Duchamp+military+service&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwje6oi3mMDXAhXHWxQKHTsbBb8Q6AEIKDAA |date=15 November 2017}}</ref> ผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นได้รับการบันทึกภาพในสตูดิโอของ[[Alfred Stieglitz|อัลเฟรด สตีกลิทซ์]] และได้สูญหายไป
'''''น้ำพุ''''' ({{lang-en|Fountain}}) คือประติมากรรม[[Readymades of Marcel Duchamp|เรดีเมด]]โดย[[มาร์แซล ดูว์ช็อง]] ในปี ค.ศ. 1917 ประกอบด้วย[[Urinal (restroom)|โถปัสสาวะ]][[เครื่องเคลือบ|กระเบื้องเคลือบ]]ที่ลงลายมือชื่อ "R. Mutt" ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1917 ดูว์ช็องเลือกสุขภัณฑ์ธรรมดาชิ้นนี้ส่งเข้าแสดงในนิทรรศการของ[[Society of Independent Artists|สมาคมศิลปินอิสระ]]ในนิทรรศการปฐมฤกษ์ของสมาคมซึ่งจะจัดขึ้นที่[[Grand Central Palace|แกรนด์เซ็นทรัลแพลิส]]ในนครนิวยอร์ก ในการแสดงผลงานของดูว์ช็องนั้น การจัดวางทิศทางของโถปัสสาวะไม่ตรงกับการจัดวางตามปกติ<ref name="Tate">{{cite web |url=https://www.tate.org.uk/art/artworks/duchamp-fountain-t07573 |title=''Fountain'', Marcel Duchamp, 1917, replica, 1964 |publisher=Tate |website=tate.org.uk |access-date=5 October 2018}}</ref><ref name="Parkinson">[https://books.google.com/books?id=42zyAHflrxcC Gavin Parkinson, ''The Duchamp Book: Tate Essential Artists Series''], Harry N. Abrams, 2008, p. 61, {{ISBN|1854377663}}</ref><ref name="Judovitz">[https://books.google.com/books?isbn=0520213769 Dalia Judovitz, ''Unpacking Duchamp: Art in Transit''], University of California Press, 1998, pp. 124, 133, {{ISBN|0520213769}}</ref> ผลงาน ''น้ำพุ'' ของเขาไม่ได้ถูกคณะกรรมการปฏิเสธ เนื่องจากสมาคมตั้งกฎไว้ว่าจะรับผลงานทั้งหมดมาจัดแสดงตราบใดก็ตามที่ศิลปินจ่ายค่าธรรมเนียม แต่กระนั้นก็ไม่ปรากฏว่ามีการนำ ''น้ำพุ'' ไปติดตั้งไว้ในพื้นที่จัดแสดงของนิทรรศการ<ref name="Cabanne, P">[https://books.google.com/books?id=4SNKDgAAQBAJ&pg=PT14 Cabanne, P., & Duchamp, M. (1971). ''Dialogues with Marcel Duchamp''] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20171115143609/https://books.google.com/books?id=4SNKDgAAQBAJ&pg=PT14&dq=cabanne,+Marcel+Duchamp+military+service&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwje6oi3mMDXAhXHWxQKHTsbBb8Q6AEIKDAA |date=15 November 2017}}</ref> ผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นได้รับการบันทึกภาพในสตูดิโอของ[[Alfred Stieglitz|อัลเฟรด สตีกลิตซ์]] และได้สูญหายไป


นักประวัติศาสตร์ศิลป์และนักทฤษฎีศิลปะสาย[[กลุ่มล้ำยุค|อะว็องต์การ์]]ถือกันว่าผลงานชิ้นนี้เป็น ว่าเป็นผลงานแลนด์มาร์กชิ้นเอกของ[[20th-century art|ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 20]] ในระหว่างทศวรรษ 1950-60s ดูว์ช็องได้สร้างงานก็อปปี (replicas) ขึ้นรวม 16 ชิ้น<ref>{{cite web |url=http://www.cabinetmagazine.org/issues/27/duchamp.php |title=An Overview of the Seventeen Known Versions of Fountain |issue=27 |year=2007}}</ref> นักวิชาการบางส่วนเสนอว่าผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นเป็นของศิลปินสตรีนิรนามคนหนึ่งที่มอบให้กับดูว์ช็องในฐานะเพื่อน แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นผลงานของดูว์ช็องทั้งหมด<ref name="Tate"/><ref name="Camfield">{{cite book |last=Camfield |first=William A. |title=Marcel Duchamp, Fountain |year=1989 |publisher=Houston Fine Art Press |location=Houston, TX |isbn=0939594102 |lccn=87028248 |pages=183}}</ref><ref>{{cite news |url=https://www.theguardian.com/books/2019/mar/29/marcel-duchamp-fountain-women-art-history |title=When will the art world recognise the real artist behind Duchamp's Fountain? |last=Hustvedt |first=Siri |date=2019-03-29 |work=The Guardian |access-date=2019-03-31 |issn=0261-3077}}</ref>
นักประวัติศาสตร์ศิลป์และนักทฤษฎีศิลปะสาย[[กลุ่มล้ำยุค|อาว็อง-การ์ด]]ถือกันว่าผลงานชิ้นนี้เป็นผลงานเด่นชิ้นเอกผลงานหนึ่งของ[[20th-century art|ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 20]] ในคริสต์ทศวรรษ 1950 และ 1960 ดูว์ช็องได้สั่งผลิตรูปถอดแบบ (replica) ของ ''น้ำพุ'' รวม 16 ชิ้น<ref>{{cite web |url=http://www.cabinetmagazine.org/issues/27/duchamp.php |title=An Overview of the Seventeen Known Versions of Fountain |issue=27 |year=2007}}</ref> นักวิชาการบางส่วนเสนอว่าผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นเป็นของศิลปินสตรีนิรนามคนหนึ่งที่มอบให้กับดูว์ช็องในฐานะเพื่อน แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นผลงานของดูว์ช็องทั้งหมด<ref name="Tate"/><ref name="Camfield">{{cite book |last=Camfield |first=William A. |title=Marcel Duchamp, Fountain |year=1989 |publisher=Houston Fine Art Press |location=Houston, TX |isbn=0939594102 |lccn=87028248 |pages=183}}</ref><ref>{{cite news |url=https://www.theguardian.com/books/2019/mar/29/marcel-duchamp-fountain-women-art-history |title=When will the art world recognise the real artist behind Duchamp's Fountain? |last=Hustvedt |first=Siri |date=2019-03-29 |work=The Guardian |access-date=2019-03-31 |issn=0261-3077}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:13, 31 มีนาคม 2564

Fountain (1917) โดยมาร์แซล ดูว์ช็อง ถ่ายโดยอัลเฟรด สตีกลิตซ์ ขณะจัดแสดงที่หอศิลป์ 291 หลังจากนิทรรศการของสมาคมศิลปินอิสระเมื่อ ค.ศ. 1917 ในฉากหลังคือ The Warriors โดยมาร์สเดิน ฮาร์ตลีย์[1]

น้ำพุ (อังกฤษ: Fountain) คือประติมากรรมเรดีเมดโดยมาร์แซล ดูว์ช็อง ในปี ค.ศ. 1917 ประกอบด้วยโถปัสสาวะกระเบื้องเคลือบที่ลงลายมือชื่อ "R. Mutt" ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1917 ดูว์ช็องเลือกสุขภัณฑ์ธรรมดาชิ้นนี้ส่งเข้าแสดงในนิทรรศการของสมาคมศิลปินอิสระในนิทรรศการปฐมฤกษ์ของสมาคมซึ่งจะจัดขึ้นที่แกรนด์เซ็นทรัลแพลิสในนครนิวยอร์ก ในการแสดงผลงานของดูว์ช็องนั้น การจัดวางทิศทางของโถปัสสาวะไม่ตรงกับการจัดวางตามปกติ[2][3][4] ผลงาน น้ำพุ ของเขาไม่ได้ถูกคณะกรรมการปฏิเสธ เนื่องจากสมาคมตั้งกฎไว้ว่าจะรับผลงานทั้งหมดมาจัดแสดงตราบใดก็ตามที่ศิลปินจ่ายค่าธรรมเนียม แต่กระนั้นก็ไม่ปรากฏว่ามีการนำ น้ำพุ ไปติดตั้งไว้ในพื้นที่จัดแสดงของนิทรรศการ[5] ผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นได้รับการบันทึกภาพในสตูดิโอของอัลเฟรด สตีกลิตซ์ และได้สูญหายไป

นักประวัติศาสตร์ศิลป์และนักทฤษฎีศิลปะสายอาว็อง-การ์ดถือกันว่าผลงานชิ้นนี้เป็นผลงานเด่นชิ้นเอกผลงานหนึ่งของศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในคริสต์ทศวรรษ 1950 และ 1960 ดูว์ช็องได้สั่งผลิตรูปถอดแบบ (replica) ของ น้ำพุ รวม 16 ชิ้น[6] นักวิชาการบางส่วนเสนอว่าผลงานชิ้นดั้งเดิมนั้นเป็นของศิลปินสตรีนิรนามคนหนึ่งที่มอบให้กับดูว์ช็องในฐานะเพื่อน แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นผลงานของดูว์ช็องทั้งหมด[2][7][8]

อ้างอิง

  1. Tomkins, Duchamp: A Biography, p. 186.
  2. 2.0 2.1 "Fountain, Marcel Duchamp, 1917, replica, 1964". tate.org.uk. Tate. สืบค้นเมื่อ 5 October 2018.
  3. Gavin Parkinson, The Duchamp Book: Tate Essential Artists Series, Harry N. Abrams, 2008, p. 61, ISBN 1854377663
  4. Dalia Judovitz, Unpacking Duchamp: Art in Transit, University of California Press, 1998, pp. 124, 133, ISBN 0520213769
  5. Cabanne, P., & Duchamp, M. (1971). Dialogues with Marcel Duchamp เก็บถาวร 15 พฤศจิกายน 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. "An Overview of the Seventeen Known Versions of Fountain". 2007.
  7. Camfield, William A. (1989). Marcel Duchamp, Fountain. Houston, TX: Houston Fine Art Press. p. 183. ISBN 0939594102. LCCN 87028248.
  8. Hustvedt, Siri (2019-03-29). "When will the art world recognise the real artist behind Duchamp's Fountain?". The Guardian. ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2019-03-31.

บรรณานุกรม