ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแจกแจงทวินามเชิงลบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
แม่แบบ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}ถ้า[[ตัวแปรสุ่ม|ตัวแปรเชิงสุ่ม]] <math>X</math> แทนจำนวนครั้งที่ต้องการทำการทดลอง[[การแจกแจงแบบเบอร์นูลี|แบบเบอร์นูลี]]ซ้ำ ๆ กัน โดยแต่ละครั้งเป็นอิสระกันจนกว่าจะได้จำนวนครั้งของความสำเร็จ โดยมีหลักการพิจารณาคือ
{{ต้องการอ้างอิง}}ถ้า[[ตัวแปรสุ่ม|ตัวแปรเชิงสุ่ม]] <math>X</math> แทนจำนวนครั้งที่ต้องการทำการทดลอง[[การแจกแจงแบบแบร์นูลี|แบบแบร์นูลี]]ซ้ำ ๆ กัน โดยแต่ละครั้งเป็นอิสระกันจนกว่าจะได้จำนวนครั้งของความสำเร็จ โดยมีหลักการพิจารณาคือ
# <math>X</math> เป็นจำนวนครั้งทั้งหมดที่ทดลอง
# <math>X</math> เป็นจำนวนครั้งทั้งหมดที่ทดลอง
# การทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระกัน
# การทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระกัน
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
:<math>f(x) = {{x-1}\choose {k-1}}p^k (1-p)^{x-k} ; x = k,k+1,k+2,...</math>
:<math>f(x) = {{x-1}\choose {k-1}}p^k (1-p)^{x-k} ; x = k,k+1,k+2,...</math>
<br />
<br />
และมีค่าคาดหวังและค่าความแปรปรวนดังนี้
และมี[[ค่าคาดหมาย]]และค่าความแปรปรวนดังนี้
<br />
<br />
:<math>E(x) = \frac{k}{p}</math><br />
:<math>E(x) = \frac{k}{p}</math><br />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:08, 11 กันยายน 2563

ถ้าตัวแปรเชิงสุ่ม แทนจำนวนครั้งที่ต้องการทำการทดลองแบบแบร์นูลีซ้ำ ๆ กัน โดยแต่ละครั้งเป็นอิสระกันจนกว่าจะได้จำนวนครั้งของความสำเร็จ โดยมีหลักการพิจารณาคือ

  1. เป็นจำนวนครั้งทั้งหมดที่ทดลอง
  2. การทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระกัน
  3. ผลการทดลองเกิดขึ้นได้ 2 อย่าง แต่ละครั้งได้ผลอย่างใดอย่างหนึ่ง
  4. การทดลองทำต่อเนื่องจนกว่าจะได้เหตุการณ์ที่ต้องการจำนวน ครั้ง โดย มีการระบุล่วงหน้า
  5. ความน่าจะเป็นที่จะได้เหตุการณ์ที่ต้องการ (ความสำเร็จ) คือ และมีค่าคงที่


ซึ่งมีฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นดังนี้


และมีค่าคาดหมายและค่าความแปรปรวนดังนี้