ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อภิปรัชญา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7794434 สร้างโดย 2001:44C8:428E:1AB9:1:2:2CB4:747B (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
God of japan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อภิปรัชญา''' ({{lang-en|Metaphysics}}) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของวิชา[[ปรัชญา]] ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ (Reality Essence) ซึ่งรวมทั้ง ชีวิต โลก และ ภาวะเหนือธรรมชาติ เช่น พระเจ้า<ref name="adisak">อดิศักดิ์ ทองบุญ, คู่มืออภิปรัชญา, ราชบัณฑิตยสถาน ISBN 974-575-939-2</ref>
'''อภิปรัชญา''' ({{lang-en|Metaphysics}})หรือ อตินทรีย์วิทยา ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของวิชา[[ปรัชญา]] ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ (Reality Essence) ซึ่งรวมทั้ง ชีวิต โลก และ ภาวะเหนือธรรมชาติ เช่น พระเจ้า<ref name="adisak">อดิศักดิ์ ทองบุญ, คู่มืออภิปรัชญา, ราชบัณฑิตยสถาน ISBN 974-575-939-2</ref>


มี[[ปรัชญา]]อีกสาขาหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ อภิปรัชญาคือ Ontology แปลว่า [[ภววิทยา]] ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความมี (being) ศาสตร์ทั้งสองนี้มีความเกี่ยวข้องกันเพราะว่า Metaphysics คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะว่ามีจริงหรือไม่ Ontology ก็ศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความแท้จริง หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไรโดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของความแท้จริง หรือความแท้จริงที่มีอยู่ เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน
มี[[ปรัชญา]]อีกสาขาหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ อภิปรัชญาคือ Ontology แปลว่า [[ภววิทยา]] ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความมี (being) ศาสตร์ทั้งสองนี้มีความเกี่ยวข้องกันเพราะว่า Metaphysics คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะว่ามีจริงหรือไม่ Ontology ก็ศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความแท้จริง หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไรโดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของความแท้จริง หรือความแท้จริงที่มีอยู่ เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
คำว่า อภิปรัชญา เป็นคำที่[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ทรงบัญญัติขึ้น<ref name="adisak"/> เมื่อพิจารณาตามรูปศัพท์ อภิปรัชญามาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ความยิ่งใหญ่ สูงสุด เหนือสุด และปรัชญาหมายถึงความรู้อันประเสริฐเมื่อรวมเข้าด้วยกัน “อภิปรัชญา” จึงหมายถึง ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากการเห็นทั่ว ๆ ไป หรือความรู้ที่อยู่นอกเหนือการรู้เห็นใด ๆ แต่สามารถรู้และเข้าใจด้วยเหตุผล
คำว่า อภิปรัชญา เป็นคำที่[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] ทรงบัญญัติขึ้น<ref name="adisak"/> เมื่อพิจารณาตามรูปศัพท์ อภิปรัชญามาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ความยิ่งใหญ่ สูงสุด เหนือสุด และปรัชญาหมายถึงความรู้อันประเสริฐเมื่อรวมเข้าด้วยกัน “อภิปรัชญา” จึงหมายถึง ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากการเห็นทั่ว ๆ ไป หรือความรู้ที่อยู่นอกเหนือการรู้เห็นใด ๆ แต่สามารถรู้และเข้าใจด้วยเหตุผล


คำว่า Metaphysics มาจากคำว่า Meta ซึ่งมีความหมายว่า หลัง,เบื้องหลัง และ Physika ที่มีความหมายว่า ประสาทสัมผัสหรือการรับรู้ หากแปลตามที่กล่าวแล้ว Metaphysics จะหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของวัตถุหรือสิ่งที่รู้สึกทางประสาทสัมผัส

คำว่า อตินทรีย์วิทยา เป็นคำที่แปลว่า วิทยาของการล่วงเลย หรือ แปลได้อีกนัยหนึ่งว่า วิชาว่าด้วยสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของวัตถุ

== ปัญหาของ อภิปรัชญา ==
1.ปัญหาเกี่ยวกับความจริงของโลก

2.ปัญหาเกี่ยวกับจิต

3.ปัญหาเกี่ยวกับพระเจ้า
<br />
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:55, 19 มกราคม 2563

อภิปรัชญา (อังกฤษ: Metaphysics)หรือ อตินทรีย์วิทยา ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของวิชาปรัชญา ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ (Reality Essence) ซึ่งรวมทั้ง ชีวิต โลก และ ภาวะเหนือธรรมชาติ เช่น พระเจ้า[1]

มีปรัชญาอีกสาขาหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ อภิปรัชญาคือ Ontology แปลว่า ภววิทยา ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความมี (being) ศาสตร์ทั้งสองนี้มีความเกี่ยวข้องกันเพราะว่า Metaphysics คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะว่ามีจริงหรือไม่ Ontology ก็ศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความแท้จริง หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไรโดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของความแท้จริง หรือความแท้จริงที่มีอยู่ เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน

ศัพท์

คำว่า อภิปรัชญา เป็นคำที่พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ทรงบัญญัติขึ้น[1] เมื่อพิจารณาตามรูปศัพท์ อภิปรัชญามาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ความยิ่งใหญ่ สูงสุด เหนือสุด และปรัชญาหมายถึงความรู้อันประเสริฐเมื่อรวมเข้าด้วยกัน “อภิปรัชญา” จึงหมายถึง ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากการเห็นทั่ว ๆ ไป หรือความรู้ที่อยู่นอกเหนือการรู้เห็นใด ๆ แต่สามารถรู้และเข้าใจด้วยเหตุผล

คำว่า Metaphysics มาจากคำว่า Meta ซึ่งมีความหมายว่า หลัง,เบื้องหลัง และ Physika ที่มีความหมายว่า ประสาทสัมผัสหรือการรับรู้ หากแปลตามที่กล่าวแล้ว Metaphysics จะหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของวัตถุหรือสิ่งที่รู้สึกทางประสาทสัมผัส

คำว่า อตินทรีย์วิทยา เป็นคำที่แปลว่า วิทยาของการล่วงเลย หรือ แปลได้อีกนัยหนึ่งว่า วิชาว่าด้วยสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของวัตถุ

ปัญหาของ อภิปรัชญา

1.ปัญหาเกี่ยวกับความจริงของโลก

2.ปัญหาเกี่ยวกับจิต

3.ปัญหาเกี่ยวกับพระเจ้า

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 อดิศักดิ์ ทองบุญ, คู่มืออภิปรัชญา, ราชบัณฑิตยสถาน ISBN 974-575-939-2
  • รศ.พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์ (และคณะ).ปรัชญาการศึกษา EF703 (603).กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง