ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์กินซาก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''สัตว์กินซาก''' ({{lang-en|scavenger}}) เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตที่ตายจาก...
 
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สัตว์กินซาก''' ({{lang-en|scavenger}}) เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตที่ตายจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่[[การล่าเหยื่อ]]<ref>{{cite journal |last=TAN |first=CEDRIC K. W. |last2=CORLETT |first2=RICHARD T. |date=2011-03-30 |title=Scavenging of dead invertebrates along an urbanisation gradient in Singapore |journal=Insect Conservation and Diversity |volume=5 |issue=2 |pages=138–145 |doi=10.1111/j.1752-4598.2011.00143.x |issn=1752-458X}}</ref> ซึ่งมีบทบาทสำคัญใน[[ระบบนิเวศ]]เป็นอย่างมาก โดยซากสัตว์ที่ยังเหลือจากที่ถูกกินโดยสัตว์กินซากแล้วจะถูกบริโภคต่อโดย[[ผู้สลายสารอินทรีย์]] (decomposer) และ[[ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์]] (detritivore)
'''สัตว์กินซาก''' ({{lang-en|scavenger}}) เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตที่ตายจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่[[การล่าเหยื่อ]]<ref>{{cite journal |last=TAN |first=CEDRIC K. W. |last2=CORLETT |first2=RICHARD T. |date=2011-03-30 |title=Scavenging of dead invertebrates along an urbanisation gradient in Singapore |journal=Insect Conservation and Diversity |volume=5 |issue=2 |pages=138–145 |doi=10.1111/j.1752-4598.2011.00143.x |issn=1752-458X}}</ref> ซึ่งส่วนใหญ่มักหมายถึง[[สิ่งมีชีวิตกินเนื้อ]]ที่กิน[[ซากเน่า]]เป็นอาหาร<ref>Getz, W. (2011). Biomass transformation webs provide a unified approach to consumer–resource modelling. Ecology Letters, {{doi|10.1111/j.1461-0248.2010.01566.x}}.</ref>
สัตว์กินซากมีบทบาทสำคัญใน[[ระบบนิเวศ]]เป็นอย่างมาก โดยซากสัตว์ที่ยังเหลือจากที่ถูกกินโดยสัตว์กินซากแล้วจะถูกบริโภคต่อโดย[[ผู้สลายสารอินทรีย์]] (decomposer) และ[[ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์]] (detritivore)


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:21, 27 ตุลาคม 2562

สัตว์กินซาก (อังกฤษ: scavenger) เป็นสัตว์ที่กินสิ่งมีชีวิตที่ตายจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การล่าเหยื่อ[1] ซึ่งส่วนใหญ่มักหมายถึงสิ่งมีชีวิตกินเนื้อที่กินซากเน่าเป็นอาหาร[2]

สัตว์กินซากมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศเป็นอย่างมาก โดยซากสัตว์ที่ยังเหลือจากที่ถูกกินโดยสัตว์กินซากแล้วจะถูกบริโภคต่อโดยผู้สลายสารอินทรีย์ (decomposer) และผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์ (detritivore)

อ้างอิง

  1. TAN, CEDRIC K. W.; CORLETT, RICHARD T. (2011-03-30). "Scavenging of dead invertebrates along an urbanisation gradient in Singapore". Insect Conservation and Diversity. 5 (2): 138–145. doi:10.1111/j.1752-4598.2011.00143.x. ISSN 1752-458X.
  2. Getz, W. (2011). Biomass transformation webs provide a unified approach to consumer–resource modelling. Ecology Letters, doi:10.1111/j.1461-0248.2010.01566.x.