ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทิศตะวันตกเฉียงใต้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
Dytoy ย้ายหน้า ทิศหรดี ไปยัง ทิศตะวันตกเฉียงใต้
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ลบบล็อกและเฟซบุ๊คส่วนตัว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Compass Rose English East.svg|thumb|250px|right|[[วงกลมแสดงทิศ]] (compass rose ) ระบุทิศหลักและทิศรอง โดยทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SW) อยู่ทางมุมซ้าย]]
{{ชื่ออื่น|ทิศ|ความหมายอื่นของ ตะวันตกเฉียงใต้|ตะวันตกเฉียงใต้
'''ทิศตะวันตกเฉียงใต้''' หรือ '''ทิศหรดี''', '''เนรดี''' เป็นหนึ่งใน[[ทิศรอง]]ทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับ[[ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ]] ขวามือของ[[ทิศตะวันตก]] และซ้ายมือของ[[ทิศใต้]] โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันตกเฉียงใต้อยู่ด้านมุมซ้ายของ[[แผนที่]]ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ทางมุมขวาของ[[แผนที่ดาว]]
[[ไฟล์:Compass Rose English East.svg|thumb|250px|right|[[วงกลมแสดงทิศ]] (compass rose ) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SW) อยู่ทางมุมซ้าย]]
'''ทิศตะวันตกเฉียงใต้''' หรือ '''ทิศหรดี''' หรือ [[เนรดี]] เป็นหนึ่งใน[[ทิศรอง]]ทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับ[[ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ]] ขวามือของ[[ทิศตะวันตก]] และซ้ายมือของ[[ทิศใต้]] โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันตกเฉียงใต้อยู่ด้านมุมซ้ายของ[[แผนที่]]ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ทางมุมขวาของ[[แผนที่ดาว]]


== คำแปลตามพจนานุกรม ==
== คำแปลตามพจนานุกรม ==
บรรทัด 8: บรรทัด 7:
== ความเชื่อมโยงตามวรรณคดีไทย ==
== ความเชื่อมโยงตามวรรณคดีไทย ==
ช้างเผือกประจำทิศหรดี คือ ช้างกระมุทอยู่ทิศหรดี เกสรหนึ่งทิ้งไปข้างทิศหรดี ให้บังเกิดเป็นช้างชื่อกระมุท มีลักษณะ ๕ ประการ สีดังดอกกระมุท ตัวสูงโสตรยาวกลมหูอ่อน เสียงดุจเสียงแตรงอน งางอนขึ้นขวาดังพระจันทร์ เมื่อขึ้น ๓ ค่ำ พร้อมด้วยลักษณะ ตามตำรา [[คชศาสตร์]]
ช้างเผือกประจำทิศหรดี คือ ช้างกระมุทอยู่ทิศหรดี เกสรหนึ่งทิ้งไปข้างทิศหรดี ให้บังเกิดเป็นช้างชื่อกระมุท มีลักษณะ ๕ ประการ สีดังดอกกระมุท ตัวสูงโสตรยาวกลมหูอ่อน เสียงดุจเสียงแตรงอน งางอนขึ้นขวาดังพระจันทร์ เมื่อขึ้น ๓ ค่ำ พร้อมด้วยลักษณะ ตามตำรา [[คชศาสตร์]]




== คตินิยมและความเชื่อ ==
== คตินิยมและความเชื่อ ==
ตามคติความเชื่อของคนไทยซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานั้น เชื่อกันว่าในสรรพสิ่งทั้งหลายมีเทวดาอยู่รายรอบตัวเรา ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือในกฎหมายตราสามดวงที่มักกล่าวถึงเทวดาไว้ในพระไอยการต่าง ๆ เช่น ในลักษณภญาณมีกล่าวไว้ว่า “...แลปางนี้ฃอเทพยุดาเจ้าทังหลาย คือพระอินท พระพรหม พระยมราช แลท้าวจาตุโลกบาล พระจันท พระอาทิตย์ ภูมอารักษอากาศเทพยุดาผู้รักษาพระพุทธศาสนา แลเทพยุดาอันรักษาซึ่งขอขันธเสมาแลพระมหาบวรเสวตรฉัตรจงเสดจ์มาประชุมให้พร้อมกันในสถานที่นี้ ฟังซึ่งคำคนผู้จะเปนสักขิพญาณแก่กัน...”
ตามคติความเชื่อของคนไทยซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานั้น เชื่อกันว่าในสรรพสิ่งทั้งหลายมีเทวดาอยู่รายรอบตัวเรา ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือในกฎหมายตราสามดวงที่มักกล่าวถึงเทวดาไว้ในพระไอยการต่าง ๆ เช่น ในลักษณภญาณมีกล่าวไว้ว่า “...แลปางนี้ฃอเทพยุดาเจ้าทังหลาย คือพระอินท พระพรหม พระยมราช แลท้าวจาตุโลกบาล พระจันท พระอาทิตย์ ภูมอารักษอากาศเทพยุดาผู้รักษาพระพุทธศาสนา แลเทพยุดาอันรักษาซึ่งขอขันธเสมาแลพระมหาบวรเสวตรฉัตรจงเสดจ์มาประชุมให้พร้อมกันในสถานที่นี้ ฟังซึ่งคำคนผู้จะเปนสักขิพญาณแก่กัน...”

ตาม[[ตำราพรหมชาติ]]มีความเชื่อว่าพืชมงคลประจำทิศตะวันตกเฉียงใต้คือ [[พิกุล]] [[ราชพฤกษ์]] [[ขนุน]] และ [[สะเดา]]
ตาม[[ตำราพรหมชาติ]]มีความเชื่อว่าพืชมงคลประจำทิศตะวันตกเฉียงใต้คือ [[พิกุล]] [[ราชพฤกษ์]] [[ขนุน]] และ [[สะเดา]]

ส่วนเทวดาประจำทิศตะวันออกเฉียงใต้คือ[[พระเสาร์]] เสาร์ ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗
ส่วนเทวดาประจำทิศตะวันออกเฉียงใต้คือ[[พระเสาร์]] เสาร์ ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗


บรรทัด 20: บรรทัด 19:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* https://www.thairath.co.th/content/240457
* https://www.thairath.co.th/content/240457
* https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=jomyutmerai&month=21-09-2005&group=4&gblog=1
* https://www.dailynews.co.th/article/287810
* https://www.dailynews.co.th/article/287810
* http://www.royin.go.th/?knowledges=ทิศทั้ง-๘-๑๖-กุมภาพันธ์-๒
* http://www.royin.go.th/?knowledges=ทิศทั้ง-๘-๑๖-กุมภาพันธ์-๒
* https://web.facebook.com/trisorn.triboon.5/posts/488482434940631


{{ทิศ}}
{{ทิศ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:11, 10 มิถุนายน 2561

วงกลมแสดงทิศ (compass rose ) ระบุทิศหลักและทิศรอง โดยทิศตะวันตกเฉียงใต้ (SW) อยู่ทางมุมซ้าย

ทิศตะวันตกเฉียงใต้ หรือ ทิศหรดี, เนรดี เป็นหนึ่งในทิศรองทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ขวามือของทิศตะวันตก และซ้ายมือของทิศใต้ โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันตกเฉียงใต้อยู่ด้านมุมซ้ายของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ทางมุมขวาของแผนที่ดาว

คำแปลตามพจนานุกรม

ทิศหรดี [หอระดี] ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ให้นิยามคำว่า ทิศหรดีไว้แปลว่า ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (บาลี สันสกฤตว่า ไนรฺฤติ) ซึ่งเป็นหนึ่งในทิศทั้งแปด

ความเชื่อมโยงตามวรรณคดีไทย

ช้างเผือกประจำทิศหรดี คือ ช้างกระมุทอยู่ทิศหรดี เกสรหนึ่งทิ้งไปข้างทิศหรดี ให้บังเกิดเป็นช้างชื่อกระมุท มีลักษณะ ๕ ประการ สีดังดอกกระมุท ตัวสูงโสตรยาวกลมหูอ่อน เสียงดุจเสียงแตรงอน งางอนขึ้นขวาดังพระจันทร์ เมื่อขึ้น ๓ ค่ำ พร้อมด้วยลักษณะ ตามตำรา คชศาสตร์

คตินิยมและความเชื่อ

ตามคติความเชื่อของคนไทยซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานั้น เชื่อกันว่าในสรรพสิ่งทั้งหลายมีเทวดาอยู่รายรอบตัวเรา ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือในกฎหมายตราสามดวงที่มักกล่าวถึงเทวดาไว้ในพระไอยการต่าง ๆ เช่น ในลักษณภญาณมีกล่าวไว้ว่า “...แลปางนี้ฃอเทพยุดาเจ้าทังหลาย คือพระอินท พระพรหม พระยมราช แลท้าวจาตุโลกบาล พระจันท พระอาทิตย์ ภูมอารักษอากาศเทพยุดาผู้รักษาพระพุทธศาสนา แลเทพยุดาอันรักษาซึ่งขอขันธเสมาแลพระมหาบวรเสวตรฉัตรจงเสดจ์มาประชุมให้พร้อมกันในสถานที่นี้ ฟังซึ่งคำคนผู้จะเปนสักขิพญาณแก่กัน...”

ตามตำราพรหมชาติมีความเชื่อว่าพืชมงคลประจำทิศตะวันตกเฉียงใต้คือ พิกุล ราชพฤกษ์ ขนุน และ สะเดา

ส่วนเทวดาประจำทิศตะวันออกเฉียงใต้คือพระเสาร์ เสาร์ ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗

ส่วนมหาเทพประจำทิศคือ พระนิรฤดี ซึ่งคือที่มาของคำว่า หรดี

อ้างอิง