ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทีวีอาซาฮิคอร์เปอร์เรชัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
* 6-9-1, ถนน[[รปปงงิ]] (Roppongi) [[มินะโตะ|เขตมินะโตะ]] (Minato-ku) [[จังหวัดโตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]
* 6-9-1, ถนน[[รปปงงิ]] (Roppongi) [[มินะโตะ|เขตมินะโตะ]] (Minato-ku) [[จังหวัดโตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]



== ประวัติ ==
คนที่เที่ยวญี่ปุ่นหลายๆเมือง ตอนดูทีวีในโรงแรมในแต่ละเมืองที่คุณพัก ถ้าสังเกตตรงมุมจอทีวีสักนิดจะเห็นว่าโลโก้ช่องของแต่ละที่ "ไม่เหมือนกัน" ทั้งๆที่มันก็ช่องเดียวกันนี่หว่า รายการที่บ้านนอกกับโตเกียวเหมือนกัน แต่ทำไมชื่อช่องต้องต่างกัน แถมกดเลขช่องก็ไม่ตรงกันอีก ที่เป็นอย่างนั้นเพราะแต่ละภูมิภาคมี "ช่องท้องถิ่น" ในแต่ละภูมิภาคครับ
{{โครงส่วน}}

สถานีโทรทัศน์ในญี่ปุ่นมีเยอะมาก นับกันรวมๆแล้วมีเป็นร้อยสถานีทั่วประเทศ ซึ่งส่วนกลางก็อยู่ที่โตเกียวแล้วกระจายไปภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ เป็นทีวีท้องถิ่นที่มีช่องใหญ่จากโตเกียวร่วมบริหารด้วย จะมีบางสถานีที่เป็นช่องท้องถิ่นอิสระ ไม่ได้ร่วมบริหารโดยช่องใหญ่จากโตเกียว (พูดง่ายๆคือดูแลกันเอง) และทุกสถานีมีออกอากาศทั้งช่องทีวีและวิทยุ (มีใช้ทั้ง AM และ FM)

เรามายกตัวอย่าง เช่น ช่อง TBS จะมีเครือข่ายช่องโดยรวมเรียกว่า JNN มีสถานีโทรทัศน์ในเครือข่าย 28 สถานี
ในโตเกียวจะเป็นช่อง TBS ออกอากาศแถบคันโต ช่อง 6
ในโอซาก้าจะเป็นช่อง MBS ออกอากาศแถบคันไซ ช่อง 4
ในนาโกยาจะเป็นช่อง CBC ออกอากาศแถบชูเกียว ช่อง 5
ในฮอกไกโดจะเป็นช่อง HBC ออกอากาศในจังหวัดฮอกไกโด ช่อง 1
ในมัตซึยามาจะเป็นช่อง ITV ออกอากาศในจังหวัดเอฮิมะ ช่อง 6
และช่องอื่นๆอีกมากมายตามแต่ละจังหวัดและภูมิภาค....

ในญี่ปุ่นจะมีเครือข่ายช่องทีวีทั้งหมด 7 เครือข่าย มี...
ANN = TV Asahi
FNN/FNS = Fuji TV
JNN = TBS
NNN/NNS = NTV
TXN = TV Tokyo
NHK = NHK G, NHK E (เป็นเครือเดียวที่ทั้งประเทศใช้ชื่อช่องเหมือนกันกับโตเกียว ส่วน NHK E เป็นช่องเดียวที่ทั้งประเทศจะมีเนื้อหาจากโตเกียวอย่างเดียว)
JAITS = ไม่มีช่องหลัก แต่ละช่องในเครือดูแลกันเอง

จะเห็นได้ว่าแค่เครือข่ายทีวีช่องเดียว ยังมีเยอะขนาดนี้ แต่ก็ขึ้นอยู่กับว่าเครือข่ายของแต่ละช่องจะมีสถานีมากน้อยเพียงใด บางสถานีช่องนี้ใช้สำหรับจังหวัดเดียว อีกช่องใช้สำหรับ2จังหวัด มันมีเยอะมากๆ แต่ที่เยอะที่สุดจะเป็นเครือข่ายของช่อง NHK น้อยสุดจะเป็นของ TX Network (ช่อง TV Tokyo นั่นเอง) ในบางจังหวัดหรือบางพื้นที่จะมีสถานีท้องถิ่นไม่ครบช่อง จึงต้องดึงช่องของเขตที่ใกล้ที่สุดมาออกอากาศ เช่น จังหวัดโอกินาวา จะไม่มีช่องท้องถิ่นของ NTV (เครือ NNN) จึงต้องใช้ช่อง KYT (เครือ NNN) จากคาโกชิมา มาออกอากาศ

*ทุกพื้นที่ในญี่ปุ่นก็ได้ช่องทีวีหลักครบอยู่แล้ว จะมีแต่เครือ JAITS ที่มีเฉพาะบางพื้นที่*

ส่วนเรื่องเลขที่ไม่เหมือนกันนั้น เหมือนกับบ้านเราที่แต่ละพิ้นที่เวลาจูนช่องอนาล๊อกจะได้เลขที่ไม่เหมือนกัน เลขห่างกันเป็นหลักสิบ (โชคดีทีวีมีระบบข้ามช่อง) แต่พอยุคทีวีดิจิตอลก็มีการเรียงช่องใหม่มันอยู่ติดๆกัน ให้อยู่ในกรอบช่อง 1-12 (สังเกตว่ารีโมททีวีในญี่ปุ่นจะมีเลข 1-12) โดยจะแยกตามโซนแถบต่างๆ เช่น ช่องของเครือ JNN เกาะฮอกไกโดและเซนไดจะเป็นช่อง 1 แถบโทโฮคุและคันโตเป็นช่อง 6 แถบคันไซเป็นช่อง 4

ที่ช่องทีวีมันมีเครือข่ายมากมายอันเนื่องมาจากช่องทีวีใหญ่ๆนั้นมีหุ้นในตลาดหลักทรัพย์มากมายและมีบริษัทหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่เป็นผู้ก่อตั้งและถือหุ้นใหญ่ทั้งนั้น แต่จะยกเว้น TBS ที่ผู้ถือหุ้นใหญ่จะเป็นด้านการเงิน และ NHK เป็นช่องสาธารณะไม่มีเอกชนมาเป็นหุ้นส่วน (ยังไม่ได้พูดถึงช่องท้องถิ่นอิสระนะครับ)

และช่องท้องถิ่นที่อยู่ในแต่ละเครือข่ายก็จะมีช่องใหญ่จากโตเกียวเป็นผู้ดูแลอยู่แล้ว แต่ในช่องที่มีขนาดรองจากที่โตเกียว (ก็คือช่องในโอซาก้า) จะมีบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทอื่นๆเข้าไปถือหุ้นดูแลได้อีก บางช่องรวยมากถึงขนาดมีหุ้นอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ มีมูลค่าสินทรัพย์หลักแสนล้านเยน (ช่อง KTV [Fuji TV โอซาก้า] กับ MBS [TBS โอซาก้า] 2ช่องนี้รวยโคตรๆ ตึกนี่อลังการ)


(ตึกสถานี KTV [Kansai Telecasting Corporation] เป็นช่องท้องถิ่นของ Fuji TV ในแถบคันไซ)

(ตึกสถานี MBS [ที่จริงยังมีสตูดิโอย่อยแยกออกมาอีก])

ส่วนช่องทีวีท้องถิ่นอิสระที่ไม่ได้มีช่องใหญ่จากโตเกียวร่วมบริหาร (ดูแลกันเอง) จะมีเครือข่ายที่เรียกว่า JAITS (Japanese Association of Independent Television Stations) มีช่องในเครือข่าย 13 สถานี แต่สถานีแต่ละสถานีจะออกอากาศช่องละจังหวัดเดียวเท่านั้น ทำให้ไม่ได้มีช่องจากเครือข่ายนี้ในทุกพื้นที่ของประเทศ

ประวัติของเครือข่ายนี้ง่ายๆเลยคือช่องในเครือเนี้ยเป็นช่องที่ออกอากาศโดยคลื่น UHF โดยตอนทีวีอนาล๊อก ทีวีช่องใหญ่ๆออกอากาศโดยคลื่น VHF อยู่ ช่องในเครือนี้จะออกอากาศรายการรูปแบบหรือเนื้อหาพิเศษที่ไม่ได้ออกอากาศในช่องใหญ่ (ไม่มี 18+ อะไรแบบนั้นเน้อ) ปัจจุบันก็อยู่ในทีวีดิจิตอลหมดแล้ว มีแต่ออกอากาศทางคลื่น UHF

ช่องในเครือนี้ที่เรารู้จักกัน หนึ่งในนั้นคือช่อง Tokyo MX เป็นช่องของเทศบาลโตเกียว ออกอากาศในเมืองโตเกียวและรอบๆเท่านั้น (การ์ตูนช่องนี้เยอะเนอะ)

แล้วมาไขกันต่อว่า แล้วรายการช่องท้องถิ่นตามภูมิภาคเนี่ยมันมีรายการเหมือนกับที่โตเกียวไหม? คำตอบก็คือมีเกือบทั้งหมดครับ จะมาต่างตรงรายการข่าวและวาไรตี้บางรายการที่ช่องท้องถิ่นทำรายการขึ้นมาเองแล้วมาออกาอากาศทับช่วงเวลารายการจากโตเกียว ส่วนรายการใหญ่ๆหลักๆก็ออกอากาศเหมือนที่โตเกียว



(รายการ Music Fair ของช่อง Fuji TV ที่โอซาก้าก็มีให้ดูเช่นกันทางช่อง KTV เมืองต่างๆทั่วประเทศก็ได้ดูพร้อมกัน [สังเกตโลโก้มุมบนขวา สังเกตยากเพราะมันเป็นลายน้ำ])

โดยช่องท้องถิ่นขนาดใหญ่พิเศษ (ก็ช่องในโอซาก้านั่นแหละ) จะมีบางรายการที่ทำป้อนให้กับทางเครือข่ายด้วย แปลว่ารายการที่ออกอากาศทั่วประเทศ มีบางรายการที่ไม่ได้ทำมาจากทางโตเกียวด้วย เช่น ซี่รี่ส์ชื่อดังเรื่อง GTO ของช่อง Fuji TV แต่ช่องที่ดูแลการผลิตก็คือช่อง KTV โอซาก้านี่แหละครับ


(รายการ Downtown DX ของช่อง NTV ออกอากาศทั่วประเทศ แต่ช่องที่ดำเนินการผลิตรายการคือช่อง YTV ช่องท้องถิ่นของ NTV จากโอซาก้า)

และในบางรายการจะมีผู้ผลิตรายการที่จะออกอากาศแบบปนเครือข่าย คือภูมิภาคนี้อยู่ช่องเครือนี้ อีกภูมิภาคนึงก็อยู่ช่องอีกเครือนึง เวลาในแต่ละภูมิภาคถึงไม่ตรงกัน บางที่เริ่มออกอากาศเดือนเมษายน แต่อีกที่เริ่มออกอากาศพฤษจิกานู่นนะ (จะทิ้งช่วงนานไปไหม?) จะเป็นกับพวกการ์ตูนอะนิเมะ ยกตัวอย่างเช่น อนิเมะเรื่อง Attack on Titan ช่อง MBS (TBS โอซาก้า)ออกอากาศคืนวันเสาร์(เข้าอาทิตย์) 1.58น. ช่อง Tokyo MX (JAITS โตเกียว) ออกอากาศวันอาทิตย์ 23.30น. ช่อง YBS (NTV ยามานิชิ)ออกอากาศคืนวันศุกร์(เข้าเสาร์) 1.58น. แต่เริ่มออกอากาศเดือนพฤษจิกายน (ช่องที่โอซาก้ามันเล่นกันจบไปละ เมื่อปลายกันยายนนี่เอง ผมยังนั่งดูอยู่เลย)

ถามต่ออีกว่ามันเป็นช่องท้องถิ่นแล้วมีศักยภาพทำรายการและมีอุปกรณ์พอหรอ? พอบอกว่าแม้เป็นช่องท้องถิ่นแต่บุคลากร อุปกรณ์ต่างๆ ห้องส่ง มีครบครันเหมือนสถานีในโตเกียว แค่ย่อขนาดลงมาแค่นั้นเอง ในสตูดิโอมีกล้องสำหรับถ่ายรายการทีวีขนาดใหญ่ ห้องส่งตกแต่งสวยงาม มีเสาส่งสัญญาณของช่องตัวเอง มีตากล้องนับสิบที่พร้อมทำข่าวและถ่ายรายการต่างๆของทางสถานี มีรถภาคสนามพร้อมส่งสัญญาณสดเข้าสถานี

ทุกอย่างพร้อมหมด ไม่แคร์ว่าสถานีเล็กๆมีครอบคลุมคนดูแค่ในจังหวัดตัวเอง (บางสถานีครอบคลุมคนดูไม่ถึงล้านคนนะครับ) แต่ก็พยายามทำให้เต็มที่และดีที่สุด รายการดูดี ไม่น้อยหน้ารายการจากโตเกียว

ยกตัวอย่าง สถานีของช่อง KBC แล้วกัน เป็นช่องท้องถิ่นของ TV Asahi (เครือ ANN) ออกอากาศในจังหวัดฟุกุโอกะและบางส่วนของจังหวัดยามากุชิ ครอบคลุมประชากรเกือบ 6ล้านคน หรือแค่ประมาณ 5% ของประชากรทั้งญี่ปุ่น มาดูกันว่าสถานีเค้าใหญ่แค่ไหน


== บรอดแคสติ้ง ==
== บรอดแคสติ้ง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:45, 5 พฤศจิกายน 2560

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน
TV Asahi Corporation
株式会社 テレビ朝日
ประเภทบริษัทจำกัด
อุตสาหกรรมสื่อสารมวลชน
ก่อตั้ง1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500
สำนักงานใหญ่จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
บุคลากรหลัก
ไม่ทราบ
ผลิตภัณฑ์TV Asahi
รายได้ไม่ทราบ
พนักงาน
ไม่ทราบ
บริษัทแม่TV Asahi Holdings Edit this on Wikidata
เว็บไซต์tv-asahi.co.jp

ทีวีอะซะฮิคอร์เปอร์เรชัน (ญี่ปุ่น: TV Asahi Corporationโรมาจิ株式会社テレビ朝日ทับศัพท์: Kabushiki-gaisha Terebi Asahi) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น เรียกอย่างย่อว่า ญี่ปุ่น: "TV Asahi"โรมาจิテレビ朝日ทับศัพท์: Terebi Asahi เริ่มออกอากาศเมื่อ พ.ศ. 2500 ภายใต้ชื่อ สถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาแห่งประเทศญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: Nihon Educational Television Co., Ltd.โรมาจิ株式会社日本教育テレビทับศัพท์: Kabushiki-gaisha Nihon Kyōiku Terebi;ชื่อย่อ:NET) จนกระทั่ง พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ทีวีอะซะฮิ จนถึงปัจจุบัน

ที่ตั้ง


คนที่เที่ยวญี่ปุ่นหลายๆเมือง ตอนดูทีวีในโรงแรมในแต่ละเมืองที่คุณพัก ถ้าสังเกตตรงมุมจอทีวีสักนิดจะเห็นว่าโลโก้ช่องของแต่ละที่ "ไม่เหมือนกัน" ทั้งๆที่มันก็ช่องเดียวกันนี่หว่า รายการที่บ้านนอกกับโตเกียวเหมือนกัน แต่ทำไมชื่อช่องต้องต่างกัน แถมกดเลขช่องก็ไม่ตรงกันอีก ที่เป็นอย่างนั้นเพราะแต่ละภูมิภาคมี "ช่องท้องถิ่น" ในแต่ละภูมิภาคครับ

สถานีโทรทัศน์ในญี่ปุ่นมีเยอะมาก นับกันรวมๆแล้วมีเป็นร้อยสถานีทั่วประเทศ ซึ่งส่วนกลางก็อยู่ที่โตเกียวแล้วกระจายไปภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ เป็นทีวีท้องถิ่นที่มีช่องใหญ่จากโตเกียวร่วมบริหารด้วย จะมีบางสถานีที่เป็นช่องท้องถิ่นอิสระ ไม่ได้ร่วมบริหารโดยช่องใหญ่จากโตเกียว (พูดง่ายๆคือดูแลกันเอง) และทุกสถานีมีออกอากาศทั้งช่องทีวีและวิทยุ (มีใช้ทั้ง AM และ FM)

เรามายกตัวอย่าง เช่น ช่อง TBS จะมีเครือข่ายช่องโดยรวมเรียกว่า JNN มีสถานีโทรทัศน์ในเครือข่าย 28 สถานี ในโตเกียวจะเป็นช่อง TBS ออกอากาศแถบคันโต ช่อง 6 ในโอซาก้าจะเป็นช่อง MBS ออกอากาศแถบคันไซ ช่อง 4 ในนาโกยาจะเป็นช่อง CBC ออกอากาศแถบชูเกียว ช่อง 5 ในฮอกไกโดจะเป็นช่อง HBC ออกอากาศในจังหวัดฮอกไกโด ช่อง 1 ในมัตซึยามาจะเป็นช่อง ITV ออกอากาศในจังหวัดเอฮิมะ ช่อง 6 และช่องอื่นๆอีกมากมายตามแต่ละจังหวัดและภูมิภาค....

ในญี่ปุ่นจะมีเครือข่ายช่องทีวีทั้งหมด 7 เครือข่าย มี... ANN = TV Asahi FNN/FNS = Fuji TV JNN = TBS NNN/NNS = NTV TXN = TV Tokyo NHK = NHK G, NHK E (เป็นเครือเดียวที่ทั้งประเทศใช้ชื่อช่องเหมือนกันกับโตเกียว ส่วน NHK E เป็นช่องเดียวที่ทั้งประเทศจะมีเนื้อหาจากโตเกียวอย่างเดียว) JAITS = ไม่มีช่องหลัก แต่ละช่องในเครือดูแลกันเอง

จะเห็นได้ว่าแค่เครือข่ายทีวีช่องเดียว ยังมีเยอะขนาดนี้ แต่ก็ขึ้นอยู่กับว่าเครือข่ายของแต่ละช่องจะมีสถานีมากน้อยเพียงใด บางสถานีช่องนี้ใช้สำหรับจังหวัดเดียว อีกช่องใช้สำหรับ2จังหวัด มันมีเยอะมากๆ แต่ที่เยอะที่สุดจะเป็นเครือข่ายของช่อง NHK น้อยสุดจะเป็นของ TX Network (ช่อง TV Tokyo นั่นเอง) ในบางจังหวัดหรือบางพื้นที่จะมีสถานีท้องถิ่นไม่ครบช่อง จึงต้องดึงช่องของเขตที่ใกล้ที่สุดมาออกอากาศ เช่น จังหวัดโอกินาวา จะไม่มีช่องท้องถิ่นของ NTV (เครือ NNN) จึงต้องใช้ช่อง KYT (เครือ NNN) จากคาโกชิมา มาออกอากาศ

  • ทุกพื้นที่ในญี่ปุ่นก็ได้ช่องทีวีหลักครบอยู่แล้ว จะมีแต่เครือ JAITS ที่มีเฉพาะบางพื้นที่*

ส่วนเรื่องเลขที่ไม่เหมือนกันนั้น เหมือนกับบ้านเราที่แต่ละพิ้นที่เวลาจูนช่องอนาล๊อกจะได้เลขที่ไม่เหมือนกัน เลขห่างกันเป็นหลักสิบ (โชคดีทีวีมีระบบข้ามช่อง) แต่พอยุคทีวีดิจิตอลก็มีการเรียงช่องใหม่มันอยู่ติดๆกัน ให้อยู่ในกรอบช่อง 1-12 (สังเกตว่ารีโมททีวีในญี่ปุ่นจะมีเลข 1-12) โดยจะแยกตามโซนแถบต่างๆ เช่น ช่องของเครือ JNN เกาะฮอกไกโดและเซนไดจะเป็นช่อง 1 แถบโทโฮคุและคันโตเป็นช่อง 6 แถบคันไซเป็นช่อง 4

ที่ช่องทีวีมันมีเครือข่ายมากมายอันเนื่องมาจากช่องทีวีใหญ่ๆนั้นมีหุ้นในตลาดหลักทรัพย์มากมายและมีบริษัทหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่เป็นผู้ก่อตั้งและถือหุ้นใหญ่ทั้งนั้น แต่จะยกเว้น TBS ที่ผู้ถือหุ้นใหญ่จะเป็นด้านการเงิน และ NHK เป็นช่องสาธารณะไม่มีเอกชนมาเป็นหุ้นส่วน (ยังไม่ได้พูดถึงช่องท้องถิ่นอิสระนะครับ)

และช่องท้องถิ่นที่อยู่ในแต่ละเครือข่ายก็จะมีช่องใหญ่จากโตเกียวเป็นผู้ดูแลอยู่แล้ว แต่ในช่องที่มีขนาดรองจากที่โตเกียว (ก็คือช่องในโอซาก้า) จะมีบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทอื่นๆเข้าไปถือหุ้นดูแลได้อีก บางช่องรวยมากถึงขนาดมีหุ้นอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ มีมูลค่าสินทรัพย์หลักแสนล้านเยน (ช่อง KTV [Fuji TV โอซาก้า] กับ MBS [TBS โอซาก้า] 2ช่องนี้รวยโคตรๆ ตึกนี่อลังการ)


(ตึกสถานี KTV [Kansai Telecasting Corporation] เป็นช่องท้องถิ่นของ Fuji TV ในแถบคันไซ)

(ตึกสถานี MBS [ที่จริงยังมีสตูดิโอย่อยแยกออกมาอีก])

ส่วนช่องทีวีท้องถิ่นอิสระที่ไม่ได้มีช่องใหญ่จากโตเกียวร่วมบริหาร (ดูแลกันเอง) จะมีเครือข่ายที่เรียกว่า JAITS (Japanese Association of Independent Television Stations) มีช่องในเครือข่าย 13 สถานี แต่สถานีแต่ละสถานีจะออกอากาศช่องละจังหวัดเดียวเท่านั้น ทำให้ไม่ได้มีช่องจากเครือข่ายนี้ในทุกพื้นที่ของประเทศ

ประวัติของเครือข่ายนี้ง่ายๆเลยคือช่องในเครือเนี้ยเป็นช่องที่ออกอากาศโดยคลื่น UHF โดยตอนทีวีอนาล๊อก ทีวีช่องใหญ่ๆออกอากาศโดยคลื่น VHF อยู่ ช่องในเครือนี้จะออกอากาศรายการรูปแบบหรือเนื้อหาพิเศษที่ไม่ได้ออกอากาศในช่องใหญ่ (ไม่มี 18+ อะไรแบบนั้นเน้อ) ปัจจุบันก็อยู่ในทีวีดิจิตอลหมดแล้ว มีแต่ออกอากาศทางคลื่น UHF

ช่องในเครือนี้ที่เรารู้จักกัน หนึ่งในนั้นคือช่อง Tokyo MX เป็นช่องของเทศบาลโตเกียว ออกอากาศในเมืองโตเกียวและรอบๆเท่านั้น (การ์ตูนช่องนี้เยอะเนอะ)

แล้วมาไขกันต่อว่า แล้วรายการช่องท้องถิ่นตามภูมิภาคเนี่ยมันมีรายการเหมือนกับที่โตเกียวไหม? คำตอบก็คือมีเกือบทั้งหมดครับ จะมาต่างตรงรายการข่าวและวาไรตี้บางรายการที่ช่องท้องถิ่นทำรายการขึ้นมาเองแล้วมาออกาอากาศทับช่วงเวลารายการจากโตเกียว ส่วนรายการใหญ่ๆหลักๆก็ออกอากาศเหมือนที่โตเกียว


(รายการ Music Fair ของช่อง Fuji TV ที่โอซาก้าก็มีให้ดูเช่นกันทางช่อง KTV เมืองต่างๆทั่วประเทศก็ได้ดูพร้อมกัน [สังเกตโลโก้มุมบนขวา สังเกตยากเพราะมันเป็นลายน้ำ])

โดยช่องท้องถิ่นขนาดใหญ่พิเศษ (ก็ช่องในโอซาก้านั่นแหละ) จะมีบางรายการที่ทำป้อนให้กับทางเครือข่ายด้วย แปลว่ารายการที่ออกอากาศทั่วประเทศ มีบางรายการที่ไม่ได้ทำมาจากทางโตเกียวด้วย เช่น ซี่รี่ส์ชื่อดังเรื่อง GTO ของช่อง Fuji TV แต่ช่องที่ดูแลการผลิตก็คือช่อง KTV โอซาก้านี่แหละครับ


(รายการ Downtown DX ของช่อง NTV ออกอากาศทั่วประเทศ แต่ช่องที่ดำเนินการผลิตรายการคือช่อง YTV ช่องท้องถิ่นของ NTV จากโอซาก้า)

และในบางรายการจะมีผู้ผลิตรายการที่จะออกอากาศแบบปนเครือข่าย คือภูมิภาคนี้อยู่ช่องเครือนี้ อีกภูมิภาคนึงก็อยู่ช่องอีกเครือนึง เวลาในแต่ละภูมิภาคถึงไม่ตรงกัน บางที่เริ่มออกอากาศเดือนเมษายน แต่อีกที่เริ่มออกอากาศพฤษจิกานู่นนะ (จะทิ้งช่วงนานไปไหม?) จะเป็นกับพวกการ์ตูนอะนิเมะ ยกตัวอย่างเช่น อนิเมะเรื่อง Attack on Titan ช่อง MBS (TBS โอซาก้า)ออกอากาศคืนวันเสาร์(เข้าอาทิตย์) 1.58น. ช่อง Tokyo MX (JAITS โตเกียว) ออกอากาศวันอาทิตย์ 23.30น. ช่อง YBS (NTV ยามานิชิ)ออกอากาศคืนวันศุกร์(เข้าเสาร์) 1.58น. แต่เริ่มออกอากาศเดือนพฤษจิกายน (ช่องที่โอซาก้ามันเล่นกันจบไปละ เมื่อปลายกันยายนนี่เอง ผมยังนั่งดูอยู่เลย)

ถามต่ออีกว่ามันเป็นช่องท้องถิ่นแล้วมีศักยภาพทำรายการและมีอุปกรณ์พอหรอ? พอบอกว่าแม้เป็นช่องท้องถิ่นแต่บุคลากร อุปกรณ์ต่างๆ ห้องส่ง มีครบครันเหมือนสถานีในโตเกียว แค่ย่อขนาดลงมาแค่นั้นเอง ในสตูดิโอมีกล้องสำหรับถ่ายรายการทีวีขนาดใหญ่ ห้องส่งตกแต่งสวยงาม มีเสาส่งสัญญาณของช่องตัวเอง มีตากล้องนับสิบที่พร้อมทำข่าวและถ่ายรายการต่างๆของทางสถานี มีรถภาคสนามพร้อมส่งสัญญาณสดเข้าสถานี

ทุกอย่างพร้อมหมด ไม่แคร์ว่าสถานีเล็กๆมีครอบคลุมคนดูแค่ในจังหวัดตัวเอง (บางสถานีครอบคลุมคนดูไม่ถึงล้านคนนะครับ) แต่ก็พยายามทำให้เต็มที่และดีที่สุด รายการดูดี ไม่น้อยหน้ารายการจากโตเกียว

ยกตัวอย่าง สถานีของช่อง KBC แล้วกัน เป็นช่องท้องถิ่นของ TV Asahi (เครือ ANN) ออกอากาศในจังหวัดฟุกุโอกะและบางส่วนของจังหวัดยามากุชิ ครอบคลุมประชากรเกือบ 6ล้านคน หรือแค่ประมาณ 5% ของประชากรทั้งญี่ปุ่น มาดูกันว่าสถานีเค้าใหญ่แค่ไหน

บรอดแคสติ้ง

  • ทีวีอาซาฮีมีการส่งสัญญาณจากกรุงโตเกียว ด้วยระบบดิจิทัล ออกอากาศระบบ UHF ช่อง 24 แต่หมายเลขรีโมตเครื่องรับฯ คือช่อง 5 สัญญาณเรียกขาน JOEX-DTV
  • นอกจากนี้ ทีวีอาซาฮี ยังมีสถานีโทรทัศน์ในส่วนภูมิภาค ภายใต้เครือข่ายฯดังกล่าวอีกหลายแห่ง

รายการในสถานี

ภาพยนตร์การ์ตูน

ข่าว

  • Action News
  • ANN News
  • Hodo Station (報道ステーション)
  • Super J Channel (スーパーJチャンネル)
  • Super Morning (スーパーモーニング)
  • Wide! Scramble ( ワイド!スクランブル)
  • Yajiuma Plus (やじうまプラス)

กีฬา

  • U.S.Open, The Open Championship
  • U.S. Women's Open, Women's British Open
  • ISU Grand Prix of Figure Skating, Final
  • FINA World Aquatics Championships
  • Tokyo International Women's Marathon

วาไรตี้โชว์

  • Music Station (ミュージックステーション)

ละคร

แหล่งข้อมูลอื่น