ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 130: บรรทัด 130:
| isbn = 0-8047-2375-3
| isbn = 0-8047-2375-3
}}
}}
* {{cite book|last=Jowett|first=Philip|title=The Japanese Army 1931–45 (1)|year=2002|publisher=Osprey Publishing|location=Botley, Oxford|isbn=1-84176-353-5}}
* {{cite book|last=Jowett|first=Philip|title=The Japanese Army 1931-45 (1)|year=2002|publisher=Osprey Publishing|location=Botley, Oxford|isbn=1-84176-353-5}}
* {{cite book
* {{cite book
| last = Kelman
| last = Kelman

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:10, 5 กรกฎาคม 2558

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
大日本帝國陸軍
ไดนิปปง เทโกะกุ ริกุงุง
ธงของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
ประจำการ1867–1945
ประเทศ ญี่ปุ่น
ขึ้นต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ
เหล่ากองทัพบก
รูปแบบกองทัพบก
บทบาทกองกำลังต่อสู้
กำลังรบ6,095,000 นาย
ปฏิบัติการสำคัญสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่สอง
ผู้บังคับบัญชา
ผบ. สำคัญยะมะงะตะ อะริโตะโมะ, โอยะมะ อิวะโอะ, เจ้าชายคังอิน โคะโตะฮิโตะ, ฮะจิเมะ ซุงิยะมะ, ฮิเดะกิ โทโจ

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJA) (Kyūjitai: 大日本帝國陸軍, Shinjitai: 大日本帝国陸軍, Romaji: Dai-Nippon Teikoku Rikugun) หรือ กองทัพแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ กองทัพบกมหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1871 จนถึง ค.ศ. 1945 เมื่อถูกยุบตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่นที่จะสละการใช้กองกำลังเป็นวิธีของการยุติข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ กองกำลังป้องกันตนเองทางบกแห่งญี่ปุ่น (JGSDF) จึงได้มีการจัดตั้งหลังจากการสลายของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นได้แสดงแสนยานุภาพในสงครามต่างๆ เช่น กบฏนักมวยและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น จนประเทศตะวันตกต่างก็เกรงใจยอมยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยกองทัพบกได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังพิเศษทางอากาศกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นสำหรับอากาศยานและปฏิบัติการโจมตีทางอากาศจากฐานทัพบนบก กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นคู่ต่อสู้หลักของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก

เชิงอรรถ

อ้างอิง

  • Bix, Herbert (2000). Hirohito and the Making of Modern Japan. New York: HarperCollinsPublishers.
  • Drea, Edward J. (1998). In the Service of the Emperor: Essays on the Imperial Japanese Army. Nebraska: University of Nebraska Press. ISBN 0-8032-1708-0.
  • Drea, Edward J. (2009). Japan's Imperial Army: Its Rise and Fall, 1853-1945. Lawrence, Kansas: University Press of Kansas. ISBN 0-8032-1708-0.
  • Drea, Edward J. (2003). "The Imperial Japanese Army (1868-1945):origins, evolution, legacy". War in the Modern World Since 1815. Nebraska: Routledge. ISBN 0-41525-140-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Gilmore, Allison B. (1998). You Can't Fight Tanks with Bayonets: Psychological Warfare against the Japanese Army in the South West Pacific. Lincoln, Nebraska: University of Nebraska Press.
  • Harries, Meirion; Susie Harries (1994). Soldiers of the Sun: The Rise and Fall of the Imperial Japanese Army. New York: Random House. ISBN 0-679-75303-6.
  • Hayashi, Saburo; Alvin D. Cox (1959). Kogun: The Japanese Army in the Pacific War. Quantico, VA: The Marine Corps Association.
  • Humphreys, Leonard A. (1996). The Way of the Heavenly Sword: The Japanese Army in the 1920s. Stanford University Press. ISBN 0-8047-2375-3.
  • Jowett, Philip (2002). The Japanese Army 1931-45 (1). Botley, Oxford: Osprey Publishing. ISBN 1-84176-353-5.
  • Kelman, Richard; Leo J. Daugherty (2002). Fighting Techniques of a Japanese Infantryman in World War II: Training, Techniques and Weapons. Zenith Imprint. ISBN 0-7603-1145-5.

แหล่งข้อมูลอื่น