ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
นิวัตน์ ศรีสวัสดิ์ เกิดที่ [[จังหวัดพิษณุโลก]] , เมืองสองแคว เมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2490]] เข้าเส้นทางนักฟุตบอลตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2507]] ในสโมสรเยาวชนของ วิทยาลัยพลศึกษา (ปัจจุบันคือ [[สถาบันการพลศึกษา]]) และปานะพันธุ์วิทยา ก่อนจะเล่นในสโมสรราชวิถี สโมสรการท่าเรือไทยและทีมชาติไทย ระหว่างปี [[พ.ศ. 2509]] - [[พ.ศ. 2522]] โดยมีครูสอนฟุตบอล นายเดือน ดารา (เหงียน วัน เดื๊อก) อดีตดารานักเตะทีมชาติเวียดนามใต้ก่อนโอนสัญชาติเป็นไทย และ อ.สำเริง ไชยยงค์ ปรมาจารย์ลูกหนัง นิวัฒน์เริ่มเล่นฟุตบอลมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา ในตำแหน่งผู้รักษาประตูในทีมของโรงเรียนจ่าการบุญ ภายหลังเปลี่ยนมาเล่นเป็นศูษย์หน้าตอนเข้าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคุม จนทำให้พาทีมครองแชมป์รุ่นจิ๋วของจังหวัดได้ 3 ปีซ้อน กระทั่งปี [[พ.ศ. 2507]] ซึ่งขณะนั้นนิวัฒน์มีอายุได้ 17 ปี ได้เข้ากรุงเทพฯ และศึกษาที่โรงเรียนพลานามัย ([[สถาบันการพลศึกษา]]) ลงเล่นในรายการฟุตบอลระดับอุดมศึกษา ปีถัดมา พ.ศ. 2508 ทางวิทยาลัยพลศึกษางดส่งทีมเข้าแข่งขัน นิวัฒน์ย้ายไปเล่นให้กับทีมของโรงเรียนปานะพันธุ์ และสร้างชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในวงการลูกหนังขาสั้น
นิวัตน์ ศรีสวัสดิ์ เกิดที่ [[จังหวัดพิษณุโลก]] , เมืองสองแคว เมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2490]] เข้าเส้นทางนักฟุตบอลตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2507]] ในสโมสรเยาวชนของ วิทยาลัยพลศึกษา (ปัจจุบันคือ [[สถาบันการพลศึกษา]]) และปานะพันธุ์วิทยา ก่อนจะเล่นในสโมสรราชวิถี สโมสรการท่าเรือไทยและทีมชาติไทย ระหว่างปี [[พ.ศ. 2509]] - [[พ.ศ. 2522]] โดยมีครูสอนฟุตบอล นายเดือน ดารา (เหงียน วัน เดื๊อก) อดีตดารานักเตะทีมชาติเวียดนามใต้ก่อนโอนสัญชาติเป็นไทย และ อ.สำเริง ไชยยงค์ ปรมาจารย์ลูกหนัง นิวัฒน์เริ่มเล่นฟุตบอลมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา ในตำแหน่งผู้รักษาประตูในทีมของโรงเรียนจ่าการบุญ ภายหลังเปลี่ยนมาเล่นเป็นศูษย์หน้าตอนเข้าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคุม จนทำให้พาทีมครองแชมป์รุ่นจิ๋วของจังหวัดได้ 3 ปีซ้อน กระทั่งปี [[พ.ศ. 2507]] ซึ่งขณะนั้นนิวัฒน์มีอายุได้ 17 ปี ได้เข้ากรุงเทพฯ และศึกษาที่โรงเรียนพลานามัย ([[สถาบันการพลศึกษา]]) ลงเล่นในรายการฟุตบอลระดับอุดมศึกษา ปีถัดมา พ.ศ. 2508 ทางวิทยาลัยพลศึกษางดส่งทีมเข้าแข่งขัน นิวัฒน์ย้ายไปเล่นให้กับทีมของโรงเรียนปานะพันธุ์ และสร้างชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในวงการลูกหนังขาสั้น<ref>[http://daily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdNakkxTVRBMU5BPT0=&sectionid=Y25Wd1lXbHRiMlJs&day=TWpBeE1TMHhNQzB5TlE9PQ== "สิงห์สนามศุภ"นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์]</ref>





รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:41, 13 มิถุนายน 2558

นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์

นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ ชื่อเล่น ต๋อง เกิดวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2490 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวไทย เคยเป็นผู้ยิงประตูให้ทีมชาติไทยสูงสุดกับจำนวนประตู 55 ประตู นิวัตน์เริ่มเล่นฟุตบอลตั้งแต่ระดับชั้นประถม ในตำแหน่งผู้รักษาประตูของทีมโรงเรียนจ่าการบุญ และเปลี่ยนมาเล่นศูนย์หน้าที่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จนสามารถพาทีมครองแชมป์รุ่นจิ๋วของจังหวัดถึง 3 ปีซ้อน จนในปี พ.ศ. 2507 นิวัฒน์ได้เข้ามาในกรุงเทพฯ เพื่อศึกษา วิทยาลัยพลศึกษา (ปัจจุบันคือ สถาบันการพลศึกษา) และลงเล่นในฟุตบอลในระดับอุดมศึกษา ในปีถัดมา พ.ศ. 2508 ทางสถาบันการพลศึกษางดส่งทีมเข้าร่วมแข่งขัน หากด้วยใจรักเกมฟุตบอลจึงย้ายไปลงเล่นให้กับทีมดังสมัยนั้น คือ โรงเรียนปานะพันธ์ สถาบันลูกหนังอันเลื่องชื่อแห่งวงการขาสั้นในเมืองไทย [1]

ประวัติ

นิวัตน์ ศรีสวัสดิ์ เกิดที่ จังหวัดพิษณุโลก , เมืองสองแคว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2490 เข้าเส้นทางนักฟุตบอลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 ในสโมสรเยาวชนของ วิทยาลัยพลศึกษา (ปัจจุบันคือ สถาบันการพลศึกษา) และปานะพันธุ์วิทยา ก่อนจะเล่นในสโมสรราชวิถี สโมสรการท่าเรือไทยและทีมชาติไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2522 โดยมีครูสอนฟุตบอล นายเดือน ดารา (เหงียน วัน เดื๊อก) อดีตดารานักเตะทีมชาติเวียดนามใต้ก่อนโอนสัญชาติเป็นไทย และ อ.สำเริง ไชยยงค์ ปรมาจารย์ลูกหนัง นิวัฒน์เริ่มเล่นฟุตบอลมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา ในตำแหน่งผู้รักษาประตูในทีมของโรงเรียนจ่าการบุญ ภายหลังเปลี่ยนมาเล่นเป็นศูษย์หน้าตอนเข้าโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคุม จนทำให้พาทีมครองแชมป์รุ่นจิ๋วของจังหวัดได้ 3 ปีซ้อน กระทั่งปี พ.ศ. 2507 ซึ่งขณะนั้นนิวัฒน์มีอายุได้ 17 ปี ได้เข้ากรุงเทพฯ และศึกษาที่โรงเรียนพลานามัย (สถาบันการพลศึกษา) ลงเล่นในรายการฟุตบอลระดับอุดมศึกษา ปีถัดมา พ.ศ. 2508 ทางวิทยาลัยพลศึกษางดส่งทีมเข้าแข่งขัน นิวัฒน์ย้ายไปเล่นให้กับทีมของโรงเรียนปานะพันธุ์ และสร้างชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในวงการลูกหนังขาสั้น[2]


อ้างอิง