ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุกรกิริยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า มังสฆาต ไปยัง ทุกรกิริยา: ตามพจนานุกรม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:flagellants.png|right|frame|การเฆี่ยนตนเองเป็น “มังสฆาต” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิด[[กาฬโรคระบาดในยุโรป]]]]
[[File:flagellants.png|right|frame|การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิด[[แบล็กเดท]]]]
'''มังสฆาต''' ({{lang-en|Mortification of the flesh}}) ที่แปลตรงตัวว่า “การทำให้เนื้อตาย” เป็นคำที่ใช้ในบริบทของศาสนาและเชิงจิตวิญญาน คำที่ใช้โดยสถาบันศาสนาเกี่ยวกับการปฏิบัติดังว่านี้ใช้คำว่า “corporal mortification”
'''ทุกรกิริยา''' ({{lang-en|self-mortification; mortification of the flesh}}) ที่แปลตรงตัวว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก” ใช้ในบริบททางศาสนาและจิตวิญญาณ เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อ[[การชำระให้บริสุทธิ์|ชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป]]


มังสฆาต” มีต้นตอมาจากบทเขียนสามบทของ[[นักบุญพอลแห่งทาซัส]]ที่กล่าวว่า “''เพราะว่าถ้าท่านทั้งหลายดำเนินชีวิตตามฝ่ายเนื้อหนังแล้ว ท่านจะต้องตาย แต่ถ้าโดยฝ่ายพระวิญญาณท่านได้ทำลายการของฝ่ายกายเสีย ท่านก็จะดำรงชีวิตได้''” ([[พระธรรมโรม|จดหมายนักบุญพอลถึงชาวโรม]] 8:13)<ref>[http://www.holyzone.net/news/02/?%BE%C3%D0%A4%D1%C1%C0%D5%C3%EC%BE%D1%B9%B8%CA%D1%AD%AD%D2%E3%CB%C1%E8:%E2%C3%C1_%2F_Romans:%E2%C3%C1_8 Holy Zone for Christ: โรม 8]</ref> ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “''เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ''” ([[พระธรรมโคโลสี|จดหมายนักบุญพอลถึงชาวโคโลสี]] 3:5)<ref>[http://www.holyzone.net/news/02/?%BE%C3%D0%A4%D1%C1%C0%D5%C3%EC%BE%D1%B9%B8%CA%D1%AD%AD%D2%E3%CB%C1%E8:%E2%A4%E2%C5%CA%D5_%2F_Colossians:%E2%A4%E2%C5%CA%D5_3 Holy Zone for Christ: โคโลสี 3]</ref> และ “''ผู้ที่เป็นของพระคริสต์ได้เอาเนื้อหนังกับความอยากและราคะตัณหาของเนื้อหนังตรึงไว้ที่กางเขนเสียแล้ว''” ([[พระธรรมกาลาเทีย|จดหมายนักบุญพอลถึงชาวกาลาเทีย]] 5:24)
การทำ ทุกรกิริยา” ในศาสนาคริสต์ มีต้นตอมาจากบทจดหมายสามฉบับของ[[เปาโลอัครทูต]]ที่กล่าวว่า “''เพราะว่าถ้าท่านดำเนินชีวิตตามเนื้อหนังแล้ว ท่านจะต้องตาย แต่ถ้าโดยทางพระวิญญาณ ท่านทำลายกิจการของร่างกาย ท่านก็จะดำรงชีวิตได้''” (โรม 8:13)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Rom/8/13 โรม 8:13]</ref> ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “''เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ''” (โคโลสี 3:5)<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Col/3 โคโลสี 3:5]</ref> และ “''ผู้ที่อยู่ฝ่ายพระเยซูคริสต์ได้ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขนพร้อมกับราคะและตัณหาแล้ว''” (กาลาเทีย 5:24)
<ref>[http://www.holyzone.net/news/02/?%BE%C3%D0%A4%D1%C1%C0%D5%C3%EC%BE%D1%B9%B8%CA%D1%AD%AD%D2%E3%CB%C1%E8:%A1%D2%C5%D2%E0%B7%D5%C2_%2F_Galatians:%A1%D2%C5%D2%E0%B7%D5%C2_5 Holy Zone for Christ: กาลาเทีย 5]</ref>
<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Gal/5 กาลาเทีย 5]</ref>


ตามปรัชญาคริสเตียน “[[exegesis|นัยวิเคราะห์]]” (exegesis), “พฤติกรรมต่อร่างกาย” (deeds of the body) และ “พฤติกรรมในโลก” (what is earthly) หมายถึง “ความบาดเจ็บของร่างกาย” หรือ ราคะ เป็นสิ่งที่ชั่วร้ายที่มีรากฐานมาจาก[[ปฐมบาป]]ที่ทำให้มนุษย์ต้องประสบกับความทรมานที่เป็นผลสะท้อน
ตามปรัชญาศาสนาคริสต์ “[[นัยวิเคราะห์]]” (exegesis), “พฤติกรรมต่อร่างกาย” (deeds of the body) และ “พฤติกรรมในโลก” (what is earthly) หมายถึง “ความบาดเจ็บของร่างกาย” หรือ ราคะ เป็นสิ่งที่ชั่วร้ายที่มีรากฐานมาจาก[[บาปกำเนิด]]ที่ทำให้มนุษย์ต้องประสบกับความทรมานที่เป็นผลสะท้อน


มังสฆาต” ที่ง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่างเช่นการงดการดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะเช่นในดำรงชีวิตแบบสำนักสงฆ์ของนิกายหลายนิกาย หรือถ้าเป็น “มังสฆาต” ที่รุนแรงก็อาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น
ทุกรกิริยา” ที่ง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่างเช่นการงดการดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะเช่นในดำรง[[ชีวิตอารามวาสี]]ของนิกายหลายนิกาย หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ที่รุนแรงก็อาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
*[http://www.cilice.co.uk/forum/viewforum.php?f=5 Penance Discussion]
*[http://www.cilice.co.uk/forum/viewforum.php?f=5 Penance Discussion]


[[หมวดหมู่:เทววิทยา]]
[[หมวดหมู่:พรตนิยม]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศาสนาคริสต์]]

{{โครงความเชื่อ}}
{{โครงความเชื่อ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:54, 29 มิถุนายน 2557

การเฆี่ยนตนเองเป็นการบำเพ็ญ “ทุกรกิริยา” วิธีหนึ่งที่เริ่มทำกันในช่วงที่เกิดแบล็กเดท

ทุกรกิริยา (อังกฤษ: self-mortification; mortification of the flesh) ที่แปลตรงตัวว่า “การกระทํากิจที่ทําได้โดยยาก” ใช้ในบริบททางศาสนาและจิตวิญญาณ เพื่อหมายถึงการทรมานร่างกายตนเอง เพื่อชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป

การทำ “ทุกรกิริยา” ในศาสนาคริสต์ มีต้นตอมาจากบทจดหมายสามฉบับของเปาโลอัครทูตที่กล่าวว่า “เพราะว่าถ้าท่านดำเนินชีวิตตามเนื้อหนังแล้ว ท่านจะต้องตาย แต่ถ้าโดยทางพระวิญญาณ ท่านทำลายกิจการของร่างกาย ท่านก็จะดำรงชีวิตได้” (โรม 8:13)[1] ความคิดเดียวกันนี้สะท้อนในบทเขียนที่ว่า “เหตุฉะนั้นจงประหารอวัยวะของท่านซึ่งอยู่ฝ่ายโลกนี้ คือการล่วงประเวณี การโสโครก ราคะตัณหา ความปรารถนาชั่ว และความโลภ ซึ่งเป็นการนับถือรูปเคารพ” (โคโลสี 3:5)[2] และ “ผู้ที่อยู่ฝ่ายพระเยซูคริสต์ได้ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขนพร้อมกับราคะและตัณหาแล้ว” (กาลาเทีย 5:24) [3]

ตามปรัชญาศาสนาคริสต์ “นัยวิเคราะห์” (exegesis), “พฤติกรรมต่อร่างกาย” (deeds of the body) และ “พฤติกรรมในโลก” (what is earthly) หมายถึง “ความบาดเจ็บของร่างกาย” หรือ ราคะ เป็นสิ่งที่ชั่วร้ายที่มีรากฐานมาจากบาปกำเนิดที่ทำให้มนุษย์ต้องประสบกับความทรมานที่เป็นผลสะท้อน

“ทุกรกิริยา” ที่ง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่างเช่นการงดการดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะเช่นในดำรงชีวิตอารามวาสีของนิกายหลายนิกาย หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ที่รุนแรงก็อาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น