ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทาก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bkkbrad (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
* http://www.thaitrip4u.com/TravelStory/STA03.asp?QID=318
* http://www.thaitrip4u.com/TravelStory/STA03.asp?QID=318
* http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-570.html
* http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-570.html



[[หมวดหมู่:สัตว์]]
[[หมวดหมู่:สัตว์]]

[[bg:Пиявици]]
[[cs:Pijavice]]
[[da:Igler]]
[[de:Egel]]
[[en:Leech]]
[[es:Hirudinea]]
[[fr:Hirudinea]]
[[ko:거머리]]
[[id:Lintah]]
[[is:Iglur]]
[[it:Sanguisuga]]
[[he:עלוקה]]
[[lb:Bluttsëffer]]
[[lt:Dėlės]]
[[mk:Пијавици]]
[[nl:Bloedzuiger (worm)]]
[[ja:ヒル (動物)]]
[[pl:Pijawki]]
[[pt:Sanguessuga]]
[[qu:Yawar ch'unqaq]]
[[ru:Пиявки]]
[[sk:Pijavice]]
[[sl:Pijavke]]
[[sr:Пијавице]]
[[fi:Juotikkaat]]
[[sv:Iglar]]
[[vi:Đỉa]]
[[tr:Sülükler]]
[[uk:П'явки]]
[[zh:蚂蟥]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:08, 7 เมษายน 2550

ไฟล์:ทาก005.jpg
ทากชูตัวคอยเหยื่อที่จะผ่านมา

ทากมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Haemadipsa sylvestris จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับไส้เดือนดินในไฟลัมแอนนีลิดา(Phylum Annelida) จัดอยู่ในคลาสฮิรูดินี(Class Hirudinae) สามารถพบได้ทั่วไปตามป่าดิบชื้นถือว่าทากเป็นดัชนีชี้ความอุดมสมบูรณ์ของป่า

ไฟล์:ทาก003.jpg
ทากใช้แว่นดูดเพื่อดูดเลือดของเหยื่อ

ลักษณะ

ทากมีลักษณะคล้ายปลิง โดยทั่วไปลำตัวเป็นปล้องมีเมือกเหนียวหุ้มไว้ไม่ให้ตัวแห้งรูปร่างเรียวยาว ลำตัวด้านหลังจะโค้งนูนเล็กน้อยส่วนด้านท้องจะเรียบ

ไฟล์:ทาก004.jpg
กำจัดทากช้าไป ด้วยสารฮีสตามีนและฮีรูดีนซึ่งทำให้เลือดไหลไม่หยุด

การดำรงชีวิต

ทากดำรงชีวิตด้วยการดูดเลือดจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและเนื่องจากไม่มีดวงตาจึงอาศัยการจับแรงสั่นสะเทือนจากการเดินของเหยื่อ โดยมันจะคอยชูตัวอยู่ตามพื้นดินหรือไต่ขึ้นไปบนกิ่งไม้ เมื่อเหยื่อเข้าใกล้มันจะใช้อวัยวะที่เรียกว่าแว่นดูด(Sucker) ซึ่งมีทั้งด้านหน้าและด้านท้าย โดยมันจะใช้แว่นท้ายในการยึดเกาะ

เมื่อมันสามารถเกาะผิวเนื้อของเหยื่อแล้วมันจะค่อยๆ ไต่อย่างแผ่วเบาเพื่อหาที่ซ่อนตัว (ในช่วงนี้ใช้เวลาประมาณ 80-90 วินาที ที่เราจะปัดหรือดึงทากออกโดยไม่ต้องเสียเลือด) หลังจากนั้นมันจะใช้แว่นหน้าลงบนผิวเนื้อของเหยื่อเพื่อดูดเลือด โดยทากจะปล่อยสารชนิดหนึ่งคล้ายกับยาชาและเวลาที่ทากดูดเลือดมันจะปล่อยสารออกมา 2 ชนิด ซึ่งได้แก่ สารฮีสตามีน(Histamine) ช่วยกระตุ้นให้หลอดเลือดขยายตัว และสารฮีรูดีน(Hirudin) มีคุณสมบัติต้านทานการแข็งตัวของเลือด (ด้วยเหตุนี้เลือดของเหยื่อจะไหลไม่หยุด)

เมื่อทากดูดเลือดอิ่มแล้วจะมีลักษณะตัวอ้วนสีดำแล้วจึงจะปล่อยตัวเองร่วงลงสู่พื้นดิน

ไฟล์:ทาก002.jpg
ภาพ X-ray ของทาก

การห้ามเลือดหลังจากโดนทาก

ใช้ใบสาบเสือ ยาเส้นหรือยาฉุนมาขยี้ปิดบาดแผล

ประโยชน์ทางด้านการแพทย์

วงการแพทย์สมัยโบราณมีการนำทากมาดูดพิษหรือเลือดเสียออกจากร่างกาย ในปัจจุบันแพทย์นำคุณสมบัติของทากมาทำให้เส้นเลือดในร่างกายไม่อุดตัน โดยเฉพาะเส้นเลือดหัวใจหรือนำมาช่วยให้เลือดในร่างกายหมุนเวียนได้ดีขึ้น

อ้างอิง