ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิล่ามอนสเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แก้คำผิด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| binomial_authority = ([[Edward Drinker Cope]], [[ค.ศ. 1869|1869]])
| binomial_authority = ([[Edward Drinker Cope]], [[ค.ศ. 1869|1869]])
| subdivision =
| subdivision =
*''H. s. suspectum'' <small>(Cope, 1869)</small>
*''H. s. suspectum'' <small>(Cope, 1869)</small>
*''H. s. cinctum'' <small>(Bogert & Martên Del Campo, [[ค.ศ. 1956|1956]])</small>
*''H. s. cinctum'' <small>(Bogert & Martên Del Campo, [[ค.ศ. 1956|1956]])</small>
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:00, 30 มกราคม 2556

กิล่ามอนสเตอร์
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Sauria
วงศ์: Helodermatidae
สกุล: Heloderma
สปีชีส์: H.  suspectum
ชื่อทวินาม
Heloderma suspectum
(Edward Drinker Cope, 1869)
ชนิดย่อย
  • H. s. suspectum (Cope, 1869)
  • H. s. cinctum (Bogert & Martên Del Campo, 1956)

กิล่ามอนสเตอร์ (อังกฤษ: Gila monster) เป็นกิ้งก่ามีพิษชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heloderma suspectum พบในเขตทะเลทรายอริโซน่าทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา กิล่ามอนสเตอร์มีความยาวถึงสองฟุต จัดเป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศสหรัฐอเมริกา ลำตัวมีลายดำ ชมพู ส้ม และเหลือง อุปนิสัยเชื่องช้า มักหลบในโพรงเป็นส่วนใหญ่ ล่าสัตว์จำพวกหนู นก และไข่ต่างๆเป็นอาหาร กิล่ามอนสเตอร์สามารถผลิตพิษที่มีผลต่อระบบประสาทของเหยื่อ โดยพิษจะส่งเข้าสู่เหยื่อผ่านทางฟันทางกรามล่าง แต่พิษนี้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อมนุษย์

กิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการคุ้มครองโดยกฎหมาย ทั้งในท้องถิ่นคือกฎหมายมลรัฐอริโซน่า และในระดับประเทศคือกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโก ส่วนในระดับนานาชาติกิล่ามอนสเตอร์เป็นสัตว์ในบัญชีหมายเลข ๒ ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ (CITES) โดยห้ามส่งออกหรือนำเข้าโดยปราศจากใบอนุญาต ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม[1]

สำหรับในประเทศไทยมีการจัดแสดงในสวนสัตว์ดุสิตในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 ถึงต้นปี พ.ศ. 2555[2]

อ้างอิง

แม่แบบ:Link GA