ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นศูนย์สูตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Panleek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:World map with equator.svg|thumb|300px|เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก]]
[[ไฟล์:World map with equator.svg|thumb|300px|เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก]]
ในทาง[[ภูมิศาสตร์]] '''เส้นศูนย์สูตร'''ภาษาอังกฤษ อ่านว่า อีเควเตอร์ ([http://en.wikipedia.org/wiki/Equator Equator]) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันออกและตะวันตก และตั้งฉากกับแกนของทรงกลม ในที่นี้คือ แกนหมุนของดาวเคราะห์ หรือ โลกนั่นเอง เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลมเพื่อแบ่ง[[ดาวเคราะห์]] หรือ โลก ออกเป็นสองซีก เท่าๆกันจากขั้วโลกเหนือ และ ขั้วโลกใต้ โดยจุดเริ่มต้นของเส้นกำหนดค่าไว้ที่ [[ละติจูด]]0 องศาทางตะวันออก
ในทาง[[ภูมิศาสตร์]] '''เส้นศูนย์สูตร''' ({{lang-en|Equator}}) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี{{อ้างอิง}} และเห็น[[ดวงอาทิตย์]]ผ่าน[[จุดเหนือศีรษะ]]ในเวลาเที่ยงของวัน[[วิษุวัต]]{{อ้างอิง}}
ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี และเห็น[[ดวงอาทิตย์]]ผ่าน[[จุดเหนือศีรษะ]]ในเวลาเที่ยงของวัน[[วิษุวัต]]
เส้นศูนย์สูตรของ[[โลก]]มีความยาวประมาณ 40,075 [[กิโลเมตร]] หรือ 24,901.5 [[ไมล์]] มีประเทศ 13 ประเทศที่เส้นศูนย์สูตรผ่าน
เส้นศูนย์สูตรเป็นหนึ่งใน[[เส้นรุ้ง]] 5 เส้นสำคัญของโลกที่แบ่งตามการหมุนของโลกและการโคจรของดาวเคราะห์
มาตรความโค้งของเส้นศูนย์สูตร หรือ จีออดดิซีของเส้นศูนย์สูตร (Geodesy of the Equator) (ดูรูปในเว็บ http://www.worldatlas.com/aatlas/imagee.htm)
เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ ({{Equator|Equator}}) เป็นหนึ่งในห้าของเส้นแนวขวางหลัก ({{lang-en|Latitude}})ที่ใช้แบ่งพื้นที่สภาพอุณภูมิและอากาศของโลก ส่วนที่เหลืออีกสี่เส้นก็มีลักษณะเป็นเส้นขนานกันที่แบ่งออกเป็น
สองเส้นขนานส่วนขั้วโลก(Polar circle) คือ เส้นอาร์กติคเซอร์เคิล[[Arctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นศูนย์สูตรที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ เส้นแอนตาร์กติคเซอร์เคิล[[Antarctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นเส้นศูนย์สูตรอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้
สองเส้นขนานในเขตโซนร้อน[[Tropical Circle]]คือ เส้นทร๊อปิคออฟแคนเซอร์ [[Tropic of Cancer]] เส้นแนวขวางขนานและใกล้เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือหรือด้านบน และ เส้นทร๊อปิคออฟแค๊พพริคอร์น[[Tropic of Capricorn]] เส้นแนวขวางที่ขนานและใกล้กับเส้นศูนย์สูตรไปทางใต้ หรือด้านล่าง


ดังนั้น เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ จึงเป็นเส้นแนวขวาง (เส้นละติจูด หรือ เส้นรุ้ง)ที่ถูกเรียกว่า [http://en.wikipedia.org/wiki/Great_circle "Great Circle"] ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่าๆกัน
เส้นศูนย์สูตรของ[[โลก]]มีความยาวประมาณ 40,075 [[กิโลเมตร]] ลากผ่าน 13 ประเทศ เส้นศูนย์สูตรเป็นหนึ่งใน[[ละติจูด]] 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน

[http://203.172.130.100/nfe_webkm/display_directory_view.php?direct=direct&&search=%CD%A7%A4%EC%BB%C3%D0%A1%CD%BA%A2%CD%A7%B7%C3%A7%A1%C5%C1%B7%E9%CD%A7%BF%E9%D2&&enc_id=964 ดังนั้น เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมท้องฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้า เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator)]
เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัด[[ทรงกลมฟ้า]] เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator)


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:42, 16 มกราคม 2556

เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก

ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (อังกฤษ: Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี[ต้องการอ้างอิง] และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต[ต้องการอ้างอิง]

เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร ลากผ่าน 13 ประเทศ เส้นศูนย์สูตรเป็นหนึ่งในละติจูด 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน

เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator)

แหล่งข้อมูลอื่น