ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัลลูนอากาศร้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ko:열기구
Omelet (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
<div class="references-small" style="-moz-column-count:3; column-count:3;">
<div class="references-small" style="-moz-column-count:3; column-count:3;">
* [[Airship]]
* [[บอลลูน]]
* [[ดาวเทียมบอลลูน]]
* [[Aviation]]
* [[บอลลูนแก็ส]]
* [[Balloon (aircraft)]]
* [[พี่น้องมองโกลฟิแยร์]]
* [[Balloon satellite]]
* [[บอลลูนสำรวจ]]
* [[Barrage balloon]]
* [[บอลลูนแสงอาทิตย์]]
* [[Bristol International Balloon Fiesta]]
* [[เซพเพลิน]]
* [[Cinebulle]]
* [[Cluster ballooning]]
* [[Espionage balloon]]
* [[First flying machine]]
* [[Gas balloon]]
* [[High altitude balloon]]
* [[Hopper balloon]]
* [[Hot air balloon festivals]]
* [[Hot air ballooning]]
* [[Lighter than air]]
* [[List of balloon uses]]
* [[Montgolfier brothers]]
* [[Non-rigid airship]] (Blimp)
* [[Observation balloon]]
* [[Research balloon]]
* [[Skyhook balloon]]
* [[Solar balloon]]
* [[Thermal airship]] (Hot air airship)
* [[Zeppelin]]
</div>
</div>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:28, 2 พฤษภาคม 2555

Hot air balloon in flight
บอลลูนอากาศร้อนที่มีรูปร่างเป็นผึ้ง
บอลลูนอากาศร้อนที่มีรูปร่างเป็นเต่า
บอลลูนอากาศร้อนลอยอยู่เหนือเมือง Cappadocia

บัลลูนอากาศร้อน (อังกฤษ: hot air balloon) เป็นอากาศยานชนิดให้ความร้อนด้วยถุงเก็บความร้อนใช้หลักการความดันอากาศในการประดิษฐ์

กลไกการประดิษฐ์

A Kongming lantern, the oldest type of hot air balloon
ภาพประกอบทางเทคนิค ของการออกแบบบอลลูนอากาศร้อนรุ่นแรกในปี ค.ศ.1818

บัลลูนอากาศร้อนเป็นอากาศยานเพื่อใช้ในการเคลือนที่ในอากาศได้เป็นชนิดแรกของโลก โดยมีการนำมาใช้จริงในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1783 ที่กรุงปารีส บัลลูนจะมีถุงหรือซองเก็บอากาศที่ร้อนและมีความหนาแน่นต่ำกว่าอากาศที่อยู่นอกถุง จึงทำให้มันลอยขึ้นจากพื้นได้ ตัวถุงมักทำด้วยผ้าใบไนลอนและจะเป็นถุงเปิดทางด้านล่าง เพื่อเปิดต่อกับทางเข้าของความร้อนและตัวถุงจะมีความดันใกล้เคียงบรรยากาศภายนอกข้างใต้ถุง มักจะมีตะกร้าหรือแคปซูลเพื่อเป็นแหล่งกำเนิดความร้อน โดยใช้แก็สหรือเชื่อเพลิงร้อน โดยมีพื้นที่ในการใช้พื้นที่สำหรับผู้ควบคุมหรือผู้โดยสาร โดยใช้หลักการเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของลมแต่ถ้าเรือเหาะชนิดอื่นๆจะมีเครื่องยนต์ในการบังคับการเคลื่อนที่และความเร็วในการเคลื่อนที่ได้

ประวัติในอดีต

  • อดีตที่จีนสมัยสามก๊ก ขงเบ้งมีการใช้บัลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กที่ทำด้วยกระดาษเพื่อส่งสัญญาณทางทหาร
  • ในประเทศเปรู ประเทศโปรตุเกส ก็เคยมีการทำบัลลูนอากาศร้อนขนาดเล็กแต่ไม่มีคนโดยสารไปด้วยมาก่อน
A model of the Montgolfier brothers' balloon at the London Science Museum

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Needham, Joseph (1986). Science and Civilization in China: Volume 4, Physics and Physical Technology, Part 2, Mechanical Engineering. Taipei: Caves Books Ltd.

ลิงก์อื่นๆ

  • [1] British Balloon and Airship Club - source for lighter-than-air flight information.
  • [2] Balloon Federation of America


Manufacturers

กลไกการประดิษฐ์

ประวัติ

อื่นๆ

แม่แบบ:Link GA