ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารประกอบอินทรีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ms:Sebatian organik
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Methane-2D-stereo.svg|thumb|right|150px|[[มีเทน]]เป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''สารประกอบอินทรีย์''' หมายถึงสารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุล[[คาร์บอน]] ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบ[[คาร์ไบน์]], [[คาร์บอเนต]], [[ออกไซด์]]ของคาร์บอนและ[[ไซยาไนด์]] เช่นเดียวกับ[[อัญรูป]]ของคาร์บอน อย่างเช่น [[เพชร]]และ[[แกรไฟต์]] ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชา[[เคมี]]อย่างกว้างขวาง... แต่ก็ค่อนข้างไร้เหตุผลอยู่เหมือนกัน"<ref name="text">[[Spencer L. Seager]], Michael R. Slabaugh. ''Chemistry for Today: general, organic, and [[biochemistry]]''. Thomson Brooks/Cole, '''2004''', p. 342. ISBN 053439969X</ref>
{{รอการตรวจสอบ}}

'''สารประกอบอินทรีย์''' สารที่มี[[คาร์บอน]]เป็นองค์ประกอบ เกิดจากสิ่งมีชีวิตผลิตขึ้น หรือมาจากสิ่งมีชีวิต ข้อยกเว้น
[[เคมีอินทรีย์]]เป็นแขนงหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์]]ที่ว่าด้วยทุกแง่มุมของสารประกอบอินทรีย์
# [[สารประกอบ]][[คาร์บอเนต]] ([[Carbonate]]) เช่น [[แคลเซียมคาร์บอเนต]] CaCO<sub>3</sub> [[Calciumcarbonate]] (หินปูน)

# สารประกอบ[[ไซยาไนด์]] ([[Cyanide]]) เช่น [[โพแทสเซียมไซยาไนด์]] KCN [[Potassiumcyanide]]
== อ้างอิง ==
# สารประกอบ[[ออกไซด์]] [[Oxide]] เช่น [[คาร์บอนไดออกไซด์]] CO<sub>2</sub> [[Carbondioxide]]
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สารประกอบอินทรีย์]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบอินทรีย์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:53, 18 มิถุนายน 2554

มีเทนเป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด

สารประกอบอินทรีย์ หมายถึงสารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุลคาร์บอน ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบคาร์ไบน์, คาร์บอเนต, ออกไซด์ของคาร์บอนและไซยาไนด์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอน อย่างเช่น เพชรและแกรไฟต์ ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชาเคมีอย่างกว้างขวาง... แต่ก็ค่อนข้างไร้เหตุผลอยู่เหมือนกัน"[1]

เคมีอินทรีย์เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยทุกแง่มุมของสารประกอบอินทรีย์

อ้างอิง

  1. Spencer L. Seager, Michael R. Slabaugh. Chemistry for Today: general, organic, and biochemistry. Thomson Brooks/Cole, 2004, p. 342. ISBN 053439969X