ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มอริส ก็อตลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
เมอริส คอทเทเลท ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น มัวริซ คอทเทเลท: สะกดให้ถูกต้องตามการออกเสียง
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
ดร.คอลเทเลท จบการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยนูชาแตล]]ในปี [[ค.ศ. 1987]] ในปี [[ค.ศ. 1980]] ได้เดินทางเข้าสู่[[ประเทศไทย]]เพื่อทำการศึกษาภาคสนาม[[ปลาน้ำจืด]]ของภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] โดยทำการศึกษาร่วมกับนักมีนวิทยาหลายชาติในภูมิภาคนี้ อาทิ ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] นักมีนวิทยา[[ชาวไทย]], ดร.ตาล ฮุคฮุย นักมีนวิทยาชาว[[เวียดนาม]] มีผลงานมากมาย เช่น การเปลี่ยนชื่อ[[genus|สกุล]]ใน[[วงศ์ปลาหมู]] (Cobitidae) จากสกุล ''[[Botia]]'' เป็น ''[[ปลาหมูอินโด|Chromobotia]]'' และ ''[[Yasuhikotakia]]''<ref>Kottelat, M. 2004. ''Botia kubotai'', a new species of loach (Teleostei: Cobitidae) from the Ataran River basin (Myanmar), with comments on botiine nomenclature and diagnosis of a new genus. Zootaxa, 401: 1-18</ref>, การ[[อนุกรมวิธาน]] [[ปลาค้อถ้ำพระวังแดง]] (''Schistura spiesi''), [[ปลาพลวงถ้ำ]] (''Neolissochilus subterraneus'') เป็นต้น
ดร.คอลเทเลท จบการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยนูชาแตล]]ในปี [[ค.ศ. 1987]] ในปี [[ค.ศ. 1980]] ได้เดินทางเข้าสู่[[ประเทศไทย]]เพื่อทำการศึกษาภาคสนาม[[ปลาน้ำจืด]]ของภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] โดยทำการศึกษาร่วมกับนักมีนวิทยาหลายชาติในภูมิภาคนี้ อาทิ ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] นักมีนวิทยา[[ชาวไทย]], ดร.ตาล ฮุคฮุย นักมีนวิทยาชาว[[เวียดนาม]] มีผลงานมากมาย เช่น การเปลี่ยนชื่อ[[genus|สกุล]]ใน[[วงศ์ปลาหมู]] (Cobitidae) จากสกุล ''[[Botia]]'' เป็น ''[[ปลาหมูอินโด|Chromobotia]]'' และ ''[[Yasuhikotakia]]''<ref>Kottelat, M. 2004. ''Botia kubotai'', a new species of loach (Teleostei: Cobitidae) from the Ataran River basin (Myanmar), with comments on botiine nomenclature and diagnosis of a new genus. Zootaxa, 401: 1-18</ref>, การ[[อนุกรมวิธาน]] [[ปลาค้อถ้ำพระวังแดง]] (''Schistura spiesi''), [[ปลาพลวงถ้ำ]] (''Neolissochilus subterraneus'') เป็นต้น


ที่[[เกาะสุมาตรา]] ดร.คอทเทเลทได้ค้นพบปลาสกุล ''[[Paedocypris]]'' ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย<ref>[http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1560243/ ''Paedocypris'', a new genus of Southeast Asian cyprinid fish with a remarkable sexual dimorphism, comprises the world's smallest vertebrate]</ref> ปัจจุบันได้พำนักอยู่ที่[[ประเทศสิงคโปร์]] โดยที่ปลาที่ได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ไปแล้วกว่า 440 [[species|ชนิด]]<ref>[http://rmbr.nus.edu.sg/news/index.php?entry=/bejc/20060330-kottelat.txt News about NUS' Raffles Museum of Biodiversity Research, Singapore - Archives]</ref>
ที่[[เกาะสุมาตรา]] ดร.คอทเทเลทได้ค้นพบปลาสกุล ''[[Paedocypris]]'' ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย<ref>[http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1560243/ ''Paedocypris'', a new genus of Southeast Asian cyprinid fish with a remarkable sexual dimorphism, comprises the world's smallest vertebrate]</ref> ปัจจุบันได้พำนักอยู่ที่[[ประเทศสิงคโปร์]] โดยมีปลาที่ได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ไปแล้วกว่า 440 [[species|ชนิด]]<ref>[http://rmbr.nus.edu.sg/news/index.php?entry=/bejc/20060330-kottelat.txt News about NUS' Raffles Museum of Biodiversity Research, Singapore - Archives]</ref>


ในวันที่ [[4 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2006]] ดร.คอทเทเลทได้รับ[[ปริญญากิตติมศักดิ์]]เนื่องในการฉลองของมหาวิทยาลัยนูชาแตล<ref>[http://www2.unine.ch/webdav/site/presse/shared/documents/CP/da06-dossier-presse.pdf Dies academicus 4 novembre 2006 (ข้อมูล[[ดาวน์โหลด]][[ภาษาฝรั่งเศส]])]</ref>
ในวันที่ [[4 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2006]] ดร.คอทเทเลทได้รับ[[ปริญญากิตติมศักดิ์]]เนื่องในการฉลองของมหาวิทยาลัยนูชาแตล<ref>[http://www2.unine.ch/webdav/site/presse/shared/documents/CP/da06-dossier-presse.pdf Dies academicus 4 novembre 2006 (ข้อมูล[[ดาวน์โหลด]][[ภาษาฝรั่งเศส]])]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:13, 12 เมษายน 2554

ดร.มัวริซ คอทเทเลท (อังกฤษ: Maurice Kottelat) เป็นนักมีนวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์ เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1957 ที่เมืองเดลามอนท์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เคยเป็นประธานสมาคมมีนวิทยาแห่งทวีปยุโรป

ดร.คอลเทเลท จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนูชาแตลในปี ค.ศ. 1987 ในปี ค.ศ. 1980 ได้เดินทางเข้าสู่ประเทศไทยเพื่อทำการศึกษาภาคสนามปลาน้ำจืดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทำการศึกษาร่วมกับนักมีนวิทยาหลายชาติในภูมิภาคนี้ อาทิ ดร.ชวลิต วิทยานนท์ นักมีนวิทยาชาวไทย, ดร.ตาล ฮุคฮุย นักมีนวิทยาชาวเวียดนาม มีผลงานมากมาย เช่น การเปลี่ยนชื่อสกุลในวงศ์ปลาหมู (Cobitidae) จากสกุล Botia เป็น Chromobotia และ Yasuhikotakia[1], การอนุกรมวิธาน ปลาค้อถ้ำพระวังแดง (Schistura spiesi), ปลาพลวงถ้ำ (Neolissochilus subterraneus) เป็นต้น

ที่เกาะสุมาตรา ดร.คอทเทเลทได้ค้นพบปลาสกุล Paedocypris ซึ่งถือได้ว่าเป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกด้วย[2] ปัจจุบันได้พำนักอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ โดยมีปลาที่ได้รับการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ไปแล้วกว่า 440 ชนิด[3]

ในวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ดร.คอทเทเลทได้รับปริญญากิตติมศักดิ์เนื่องในการฉลองของมหาวิทยาลัยนูชาแตล[4]

อ้างอิง