ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกลซีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: ไกลซีน เป็นกรดอะมิโนที่สำคัญ แต่จัดอยู่ในประเภทกรดอะมิโนที...
 
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
chembox แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{chembox
| Watchedfields = changed
| verifiedrevid = 306544029
| Reference = <ref>{{Merck11th|4386}}.</ref>
| ImageFileL1 = Glycine-zwitterion-2D-skeletal.png
| ImageSizeL1 = 120px
| ImageFileR1 = Glycin - Glycine.svg
| ImageSizeR1 = 73px
| ImageFileL2 = Glycine-from-xtal-2008-3D-balls.png
| ImageSizeL2 = 120px
| ImageFileR2 = Glycine-3D-balls.png
| ImageSizeR2 = 100px
| IUPACName = Glycine
| OtherNames = Aminoethanoic acid <br /> Aminoacetic acid
| Section1 = {{Chembox Identifiers
| Abbreviations = '''Gly''', '''G'''
| CASNo = 56-40-6
| CASNo_Ref = {{cascite}}
| EC-number = 200-272-2
| ChemSpiderID = 730
| PubChem = 750
| SMILES = NCC (O) =O
}}
| Section2 = {{Chembox Properties
| C = 2 | H=5 | N=1 | O=2
| MolarMass = 75.07
| Appearance = white solid
| Density = 1.1607 g/cm<sup>3</sup>
| MeltingPt = 233 °C (decomposition)
| Solubility = 25 g/100 mL
| SolubleOther = soluble in [[ethanol]], [[pyridine]] <br> insoluble in [[ether]]
| pKa = 4
}}
| Section3 = {{Chembox Hazards
| EUIndex =
| FlashPt =
| Autoignition =
| LD50 = 2600 mg/kg (mouse, oral)
}}
}}
ไกลซีน เป็นกรดอะมิโนที่สำคัญ แต่จัดอยู่ในประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น ซึ่งร่างกายสามารถสังเคราะห์เองได้ โดยนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมคุณค่าทางอาหาร หรือ อาหารเสริมพิเศษ มีความสามารถในการละลาย 1 กรัม ในน้ำ 4 ml. มีมากใน collagen
ไกลซีน เป็นกรดอะมิโนที่สำคัญ แต่จัดอยู่ในประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น ซึ่งร่างกายสามารถสังเคราะห์เองได้ โดยนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมคุณค่าทางอาหาร หรือ อาหารเสริมพิเศษ มีความสามารถในการละลาย 1 กรัม ในน้ำ 4 ml. มีมากใน collagen



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:46, 27 มกราคม 2553

ไกลซีน[1]
ชื่อ
IUPAC name
Glycine
ชื่ออื่น
Aminoethanoic acid
Aminoacetic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ตัวย่อ Gly, G
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.248 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • NCC (O) =O
คุณสมบัติ
C2H5NO2
มวลโมเลกุล 75.07
ลักษณะทางกายภาพ white solid
ความหนาแน่น 1.1607 g/cm3
จุดหลอมเหลว 233 °C (decomposition)
25 g/100 mL
ความสามารถละลายได้ soluble in ethanol, pyridine
insoluble in ether
pKa 4
ความอันตราย
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
2600 mg/kg (mouse, oral)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไกลซีน เป็นกรดอะมิโนที่สำคัญ แต่จัดอยู่ในประเภทกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น ซึ่งร่างกายสามารถสังเคราะห์เองได้ โดยนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมคุณค่าทางอาหาร หรือ อาหารเสริมพิเศษ มีความสามารถในการละลาย 1 กรัม ในน้ำ 4 ml. มีมากใน collagen

คุณสมบัติ 1.วัตถุเจือปนในอาหารที่ใช้เพิ่มปริมาณกรดอะมิโน เพื่อเสริมคุณค่าทางอาหารให้กับผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะอาหารทะเล 2.ช่วยเสริมกลิ่น และรสชาติ เช่น น้ำผลไม้ ที่ไม่มีแอลกอฮอล์ และ มายองเนส โดยไกลซีน จะช่วยเสริมกลิ่นรสทั้ง 5 และจะมีประสิทธิภาพดีขึ้นหากใช้ร่วมกับ Sodium 5' Ribonucleotide ปละผงชูรส (MSG) 3.ช่วยให้เกิดสีน้ำตาล ในผลิตภัณฑ์ขนมอบ / เบเกอร์รี่ ซึ่งกรดอะมิโน ในไกลซีนจะทำปฏิกิริยากับน้ำตาลในผลิตภัณธ์ ก่อให้เกิด สีน้ำตาลในผลิตภัณฑ์ (Millard Reaction) และนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์จำพวกซอสถั่วเหลือง และ ขนมปังแครกเกอร์ 4.ช่วยปรับความรสชาติความเค็มในผลิตภัณฑ์ผัก/ผลไม้ดอง ให้อ่อนลง 5.ใช้เพื่อบดบังรสขมที่ค้างอยู่ในลำคอของขันฑสกร Saccharin ตัวอย่างเช่น ในเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ที่หวาน 6.ใช้เพื่อชะลอการหืนในไขมัน

การนำไปใช้ 1.ในอุตสาหกรรมอาหาร จะใช้ไกลซีนผสมโดยตรง ในผลิตภัณฑ์ เพื่อเสริมกลิ่น รสชาด และคุณค่าทางอาหาร 2.ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จะใช้ไกลซีนเป็นตัวเพิ่มรสชาติ และเสริมปริมาณกรดอะมิโน ให้กับอาหารสัตว์ และอาหารกุ้ง 3. ในอุตสาหกรรมการผลิตยา จะใช้ไกลซีนเป็นสารช่วยให้คงตัว / ปรับค่าพี-เอช ในยา เช่น Aspirin , Tranquilizer , Antihistomines นอกจากนี้ยังเพิ่มสารอาหารให้กับยา และมีคุณสมบัติช่วยให้ระบบ การหมุนเวียนโลหิต ในร่างกายดีขึ้น 4.อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ใช้ไกลซีน เช่น Sensitive latex System, Nutural foams rubber product, paints , varnishes , Cosmetics , Leather Industry and Detergent.

ปริมาณการใช้

ไกลซีน จะมีรสออกหวาน เฉพาะตัว ซึ่งแตกต่างไปจากความหวาน ของน้ำตาลปกติ โดยส่วนใหญ่จะสามารถรู้สึกถึงรสชาดของไกลซีนได้ เมื่อใช้ปริมาณไกลซีนในผลิตภัณฑ์ ไม่เกิน 0.5% และความเข้มข้นของสารละลายที่ใช้ต้องไม่ต่ำกว่า 1% จึงจะได้รสชาดเฉพาะตัวของไกลซีน ออกมาในผลิตภัณฑ์

อื่นๆ Bacteriostatic Action ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิดได้ โดยจะเข้าไปทำลายการสังเคราะห์ผนังเซลของจุลินทรีย์ แต่ ไกลซีนมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ ได้ไม่มีประสิทธิภาพเท่ากับสารกันบูด/สารกันเสียตัวอื่นๆ เช่น เบนโซเอท หรือซอร์เบต ปริมาณการใช้ไกลซีน เพื่อยับยั้งการเจริญของ จุลินทรีย์ อย่างน้อย 0.7 - 1.0%

Buffer Action ช่วยในการปรับสภาพความเป็นกรด - ด่าง ของผลิตภัณฑ์ ค่า pH อยู่ระหว่าง 4 - 8

Chelating Action ช่วยในการจับโลหะในผลิตภัณฑ์อาหาร โดยเฉพาะในอาหารกระป๋อง ไกลซีนจะมีส่วนช่วยป้องกัน การเกิดสีผิวกระป๋องด้านในคล้ำเนื่องจากไฮโดรเจน ซัลไฟด์ในอาหาร กับผิวโลหะได้เป็นอย่างดี

  1. แม่แบบ:Merck11th.