ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนแบริออน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในการศึกษาฟิสิกส์อนุภาค '''จำนวนแบริออน''' ({{lang-en|Baryon number}}) คือ[[จำนวน...
 
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca, cs, de, el, eo, es, et, fa, fi, fr, it, ja, nds, nl, pl, pt, ru, uk, zh
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
{{โครงฟิสิกส์}}
{{โครงฟิสิกส์}}


[[ca:Nombre bariònic]]
[[cs:Baryonové číslo]]
[[de:Baryonenzahl]]
[[el:Βαρυονικός αριθμός]]
[[en:Baryon number]]
[[en:Baryon number]]
[[eo:Bariona nombro]]
[[es:Número bariónico]]
[[et:Barüonlaeng]]
[[fa:عدد باریونی]]
[[fi:Baryoniluku]]
[[fr:Nombre baryonique]]
[[it:Numero barionico]]
[[ja:バリオン数]]
[[nds:Baryonentall]]
[[nl:Baryongetal]]
[[pl:Liczba barionowa]]
[[pt:Número bariônico]]
[[ru:Барионное число]]
[[uk:Баріонний заряд]]
[[zh:重子数]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:34, 3 มกราคม 2553

ในการศึกษาฟิสิกส์อนุภาค จำนวนแบริออน (อังกฤษ: Baryon number) คือจำนวนควอนตัมโดยประมาณตามกฎการอนุรักษ์พลังงานของระบบหนึ่งๆ นิยามได้ดังนี้

โดยที่ nq คือจำนวนของควาร์ก และ nq คือจำนวนของแอนติควาร์ก อนุภาคแบริออน (ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัว) มีค่าแบริออนเท่ากับ +1 อนุภาคมีซอน (1 ควาร์กกับ 1 แอนติควาร์ก) มีค่าแบริออนเท่ากับ 0 และอนุภาคแอนติแบริออน (3 แอนติควาร์ก) มีค่าแบริออนเท่ากับ -1 สำหรับอนุภาคฮาดรอนแบบพิเศษ เช่น เพนตาควาร์ก (มี 4 ควาร์กกับ 1 แอนติควาร์ก) หรือ เตตระควาร์ก (2 ควาร์กกับ 2 แอนติควาร์ก) อาจจัดประเภทเป็นได้ทั้งอนุภาคแบริออนหรือมีซอน ขึ้นอยู่กับจำนวนแบริออนของมัน

ดูเพิ่ม