ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลแบร์ท โฮฟมัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: id:Albert Hofmann
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Albert Hofmann Oct 1993.jpg|thumb|200px|ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 87 ปี]]
[[ไฟล์:Albert Hofmann Oct 1993.jpg|thumb|200px|ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 87 ปี]]
[[ไฟล์:Albert Hofmann.jpg|thumb|200px|ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 100 ปีเมื่อ พ.ศ. 2549]]
[[ไฟล์:Albert Hofmann.jpg|thumb|200px|ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 100 ปีเมื่อ พ.ศ. 2549]]


'''ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์''' ({{lang-en|Albert Hofmann}}) ([[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2449]] - [[29 เมษายน]] [[พ.ศ. 2551]]) นักเคมีคนสำคัญของประเทศ[[สวิสเซอร์แลนด์]] ได้รับการขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่ง[[แอลเอสดี]]" เกิดที่เมืองบาเดน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ จบการศึกษาด้าน[[เคมี]]จาก[[มหาวิทยาลัยซูริก]] ขณะเรียนมีความสนใจเคมีที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ซึ่งต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยงานสำคัญในโครงสร้างของสารที่มีอยู่ทั่วไปในสัตว์ คือ "[[สารชูติน]]" (chutin –สารหลักในเปลือกกุ้ง ปูและสัตว์ที่คล้ายกัน) ซึ่งเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของฮอฟมานน์
'''อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์''' ({{lang-en|Albert Hofmann}}; [[11 มกราคม]] [[พ.ศ. 2449]] - [[29 เมษายน]] [[พ.ศ. 2551]]) เป็นนักเคมีคนสำคัญของ[[ประเทศสวิสเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]] ได้รับการขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่ง[[แอลเอสดี]]" เกิดที่[[บาเดน|เมืองบาเดน]] สวิสเซอร์แลนด์ จบการศึกษาด้าน[[เคมี]]จาก[[มหาวิทยาลัยซูริก]] ขณะเรียนมีความสนใจเคมีที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ ซึ่งต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยงานสำคัญในโครงสร้างของสารที่มีอยู่ทั่วไปในสัตว์ คือ "[[สารชูติน]]" (chutin –สารหลักในเปลือกกุ้ง ปูและสัตว์ที่คล้ายกัน) ซึ่งเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของฮอฟมานน์


ดร. อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ ได้เข้าทำงานในแผนกเภสัช-เคมีในสถานนีทดลองของ[[บริษัทแซนดอซ]] (ปัจจุบันคือ[[บริษัทโนวาทริส]]) [[เมืองบาเซล]]โดยทำการวิจัยพืชหัวที่ใช้ทำยา และ[[เออร์กอต]] ของพวก[[เห็ดรา]] เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ[[สังเคราะห์]]และทำความบริสุทธิ์ให้กับตัวยาสำคัญที่จะนำมาใช้ทางเภสัชกรรม
ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ ได้เข้าทำงานในแผนกเภสัช-เคมีในสถานนีทดลองของ[[บริษัทแซนดอซ]] (ปัจจุบันคือ[[บริษัทโนวาทริส]]) [[เมืองบาเซล]]โดยทำการวิจัยพืชหัวที่ใช้ทำยา และ[[เออร์กอต]] ของพวก[[เห็ดรา]] เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ[[สังเคราะห์]]และทำความบริสุทธิ์ให้กับตัวยาสำคัญที่จะนำมาใช้ทางเภสัชกรรม


== ชีวิตการทำงาน ==
== ชีวิตการทำงาน ==
งานค้นคว้าเกี่ยวกับ[[กรดไลเซอร์จิก]]ของ ฮอฟมานน์นำไปสู่การสังเคราะห์แอลเอสดี – 25 เมื่อ [[พ.ศ. 2481]] ซึ่งในอีกห้าปีต่อมาหลังจากถูกลืม ฮอฟมานน์ก็ได้กลับมาค้นพบผลโดยความบังเอิญว่าสารแอลเอสดีเป็นตัวก่ออาการโรคจิต โดยฮอฟมานน์ รับรู้ผลของอาการได้หลังจากการซึมของสารเข้าสู่ร่างกายของเขาทางปลายนิ้วเมื่อวันที่ 16 เมษายน [[พ.ศ. 2486]] อีก 3 วันต่อมาในวันที่ 19 เมษายน (ต่อมาเรียกวันนี้กันว่า “วันจักรยาน” หลังจากที่ฮอฟมานน์ขี่จักรยานกลับบ้านภายใต้อิทธิพลของแอลเอสดี) ดร.ฮอฟมานน์จงใจเสพย์สารนี้เป็นจำนวน 250 ไมโครกรัมและได้ประสบกับอิทธิพลของสารในระดับที่เข้มขึ้น หลังจากใช้ตนเองเป็นหนูทดลองอีกหลายครั้ง ฮอฟมานน์จึงได้เขียนรยงานผลการทดลองนี้เมื่อ วันที่ 22 เมษายน ในปีเดียวกัน
งานค้นคว้าเกี่ยวกับ[[กรดไลเซอร์จิก]]ของฮอฟมานน์นำไปสู่การสังเคราะห์แอลเอสดี – 25 เมื่อ [[พ.ศ. 2481]] ซึ่งในอีกห้าปีต่อมาหลังจากถูกลืม ฮอฟมานน์ก็ได้กลับมาค้นพบผลโดยความบังเอิญว่าสารแอลเอสดีเป็นตัวก่ออาการโรคจิต โดยฮอฟมานน์รับรู้ผลของอาการได้หลังจากการซึมของสารเข้าสู่ร่างกายของเขาทางปลายนิ้ว เมื่อวันที่ 16 เมษายน [[พ.ศ. 2486]] อีก 3 วันต่อมาในวันที่ 19 เมษายน(ต่อมาเรียกวันนี้กันว่า “วันจักรยาน” หลังจากที่ฮอฟมานน์ขี่จักรยานกลับบ้านภายใต้อิทธิพลของแอลเอสดี) ดร.ฮอฟมานน์จงใจเสพย์สารนี้เป็นจำนวน 250 ไมโครกรัมและได้ประสบกับอิทธิพลของสารในระดับที่เข้มขึ้น หลังจากได้ทดลองกับตนเองอีกหลายครั้ง ฮอฟมานน์จึงได้เขียนรยงานผลการทดลองนี้เมื่อวันที่ 22 เมษายน ปีเดียวกัน


ฮอฟมานน์ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการแผนกผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของบริษัทแซนดอสและได้ทำการทดลอง[[สารก่อประสาทหลอน]]ที่พบในเห็ดแม็กซิกันและพืชชนิดอื่นที่ชนพื้นเมืองใช้เสพย์ ทำให้นำไปสู่การสังเคราะห์ “ซิโลไซบิน” (จัดอยู่ในกลุ่มอัลคาลอยด์) ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของ “เห็ดวิเศษ” ดังกล่าว
ฮอฟมานน์ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการแผนกผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของบริษัทแซนดอสและได้ทำการทดลอง[[สารก่อประสาทหลอน]]ที่พบในเห็ดแม็กซิกันและพืชชนิดอื่นที่ชนพื้นเมืองใช้เสพ ทำให้นำไปสู่การสังเคราะห์ “ซิโลไซบิน” (จัดอยู่ในกลุ่มอัลคาลอยด์) ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของ “เห็ดวิเศษ” ดังกล่าว


นอกจากนี้ ฮอฟมานน์ยังสนใจในเมล็ดของต้นแม็กซิกัน[[มอร์นิงกลอรี]] ซึ่งจัดอยู่ในชนิกหรือสปีชีส์ ริเวีย ''คอริมโบซา'' ซึ่งได้พบอย่างน่าแปลกใจว่าสารที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของมล็ดพืชชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกับแอลเอสดีเป็นอย่างมาก
นอกจากนี้ ฮอฟมานน์ยังสนใจในเมล็ดของต้นแม็กซิกัน[[มอร์นิงกลอรี]] ซึ่งจัดอยู่ในชนิกหรือสปีชีส์ ริเวีย ''คอริมโบซา'' ซึ่งได้พบอย่างน่าแปลกใจว่าสารที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของมล็ดพืชชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกับแอลเอสดีเป็นอย่างมาก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:34, 5 ธันวาคม 2552

ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 87 ปี
ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 100 ปีเมื่อ พ.ศ. 2549

อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ (อังกฤษ: Albert Hofmann; 11 มกราคม พ.ศ. 2449 - 29 เมษายน พ.ศ. 2551) เป็นนักเคมีคนสำคัญของสวิตเซอร์แลนด์ ได้รับการขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งแอลเอสดี" เกิดที่เมืองบาเดน สวิสเซอร์แลนด์ จบการศึกษาด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยซูริก ขณะเรียนมีความสนใจเคมีที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ ซึ่งต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยงานสำคัญในโครงสร้างของสารที่มีอยู่ทั่วไปในสัตว์ คือ "สารชูติน" (chutin –สารหลักในเปลือกกุ้ง ปูและสัตว์ที่คล้ายกัน) ซึ่งเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของฮอฟมานน์

ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ ได้เข้าทำงานในแผนกเภสัช-เคมีในสถานนีทดลองของบริษัทแซนดอซ (ปัจจุบันคือบริษัทโนวาทริส) เมืองบาเซลโดยทำการวิจัยพืชหัวที่ใช้ทำยา และเออร์กอต ของพวกเห็ดรา เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสังเคราะห์และทำความบริสุทธิ์ให้กับตัวยาสำคัญที่จะนำมาใช้ทางเภสัชกรรม

ชีวิตการทำงาน

งานค้นคว้าเกี่ยวกับกรดไลเซอร์จิกของฮอฟมานน์นำไปสู่การสังเคราะห์แอลเอสดี – 25 เมื่อ พ.ศ. 2481 ซึ่งในอีกห้าปีต่อมาหลังจากถูกลืม ฮอฟมานน์ก็ได้กลับมาค้นพบผลโดยความบังเอิญว่าสารแอลเอสดีเป็นตัวก่ออาการโรคจิต โดยฮอฟมานน์รับรู้ผลของอาการได้หลังจากการซึมของสารเข้าสู่ร่างกายของเขาทางปลายนิ้ว เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2486 อีก 3 วันต่อมาในวันที่ 19 เมษายน(ต่อมาเรียกวันนี้กันว่า “วันจักรยาน” หลังจากที่ฮอฟมานน์ขี่จักรยานกลับบ้านภายใต้อิทธิพลของแอลเอสดี) ดร.ฮอฟมานน์จงใจเสพย์สารนี้เป็นจำนวน 250 ไมโครกรัมและได้ประสบกับอิทธิพลของสารในระดับที่เข้มขึ้น หลังจากได้ทดลองกับตนเองอีกหลายครั้ง ฮอฟมานน์จึงได้เขียนรยงานผลการทดลองนี้เมื่อวันที่ 22 เมษายน ปีเดียวกัน

ฮอฟมานน์ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการแผนกผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของบริษัทแซนดอสและได้ทำการทดลองสารก่อประสาทหลอนที่พบในเห็ดแม็กซิกันและพืชชนิดอื่นที่ชนพื้นเมืองใช้เสพ ทำให้นำไปสู่การสังเคราะห์ “ซิโลไซบิน” (จัดอยู่ในกลุ่มอัลคาลอยด์) ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของ “เห็ดวิเศษ” ดังกล่าว

นอกจากนี้ ฮอฟมานน์ยังสนใจในเมล็ดของต้นแม็กซิกันมอร์นิงกลอรี ซึ่งจัดอยู่ในชนิกหรือสปีชีส์ ริเวีย คอริมโบซา ซึ่งได้พบอย่างน่าแปลกใจว่าสารที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของมล็ดพืชชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกับแอลเอสดีเป็นอย่างมาก

ในปี พ.ศ. 2505 ฮอฟมานน์และภริยาได้เดินทางไปเยือนเม็กซิโกตอนใต้เพื่อเสาะหาต้นไม้ชื่อ “ใบแมรี่เดอะเชเปอร์เดส” ต่อมาได้ชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า ซาลเวีย ดิวิโนรุม แม้จะขออนุญาตนำกลับประเทศได้ แต่ฮอฟมานน์ก็ไม่สามารถแยกและบ่งชี้องค์ประกอบหลักทางเคมีที่สำคัญของพืชชนิดนี้ได้

ฮอฟมานน์เรียกแอลเอสดีว่า “ยาแห่งจิตวิญญาณ” และหงุดหงิดจากการที่ประชาคมโลกพากันถือว่าสารนี้เป็นสิ่งต้องห้าม ทำให้สารนี้หายไปจากบนดินกลายเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ฮอฟมานน์กล่าวว่า “สารนี้ได้ถูกใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางจิตอย่างระมัดระวังมานานถึง 10 ปี” ก่อนที่จะถูกกลุ่มเยาวชนยุค 1960’s มายึดไปใช้ในทางที่ผิด ทำให้สารนี้กลายเป็นสิ่งชั่วร้ายที่ถูกต่อต้าน แต่อย่างไรก็ดี ฮอฟมานน์ยอมรับว่าหากสารนี้ตกอยู่ในมือของคนไม่ดีก็มีอันตรายมากได้

ฮอฟมานน์ได้เขียนบทความทางวิทยาศาสตร์มากกว่า 100 บทความและหนังสืออีกหลายเล่มรวมทั้ง “แอลเอสดี ลูกเจ้าปัญหาของข้าพเจ้า” ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นอัตชีวประวัติและการบรรยายถึงการขี่จักรยานที่โด่งดังของตน

ในโอกาสครบอายุ 100 ปีเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2549 ฮอฟมานน์กลับมาเป็นจุดเด่นของ “การประชุมเอกสารัตถ์นานาชาติว่าด้วยแอลเอสดี เนื่องในวาระครบอายุ 100 ปีของอังเบิร์ต ฮอฟมานน์” ในเมืองบาเซลที่ทำให้สื่อต่างๆ ให้ความสนใจในการค้นพบแอลเอสดีของเขาอีกครั้งหนึ่ง

แหล่งข้อมูลอื่น