ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Abhichartt (คุย | ส่วนร่วม)
Zambo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Three great good of agriculutres monument1.jpg|thumb|400px|อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ในปัจจุบัน]]
[[ภาพ:Three great good of agriculutres monument1.jpg|thumb|400px|อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ในปัจจุบัน]]


'''อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์''' หรือ '''อนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตร''' เป็นอนุสาวรีย์ประดิษฐานรูปเหมือนของ สามบูรพาจารย์ผู้ให้กำเนิดการสถาปนา[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] คือ [[พระช่วงเกษตรศิลปการ]] [[หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ]] และ [[หลวงอิงคศรีกสิการ ]] ตั้งอยู่ที่บริเวณลานอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ด้านหน้า สถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เกษตรกลาง บางเขน)
'''อนุเสาวรีย์สามบูรพาจารย์''' หรือ '''อนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตร''' เป็นอนุเสารีย์รูปเหมือนของสามบูรพาจารย์ผู้ริเริ่มสถาปนา[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] คือ [[พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)]] [[หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์)]] และ[[หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)]] ประดิษฐาน ณ ลานอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หน้า[[สถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] ภายใน[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] วิทยาเขตบางเขน


==ประวัติ==
==ประวัติ==

[[ภาพ:Suwan great agri monument.JPG|thumb|200px|left|อนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ เมื่อ พ.ศ. 2511]]
[[ภาพ:Suwan great agri monument.JPG|thumb|200px|left|อนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ เมื่อ พ.ศ. 2511]]
'''“สามเสือเกษตร”''' เป็นฉายาที่[[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]](สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ใช้เรียกแทนบุคคลสามท่าน คือ [[หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ]] [[พระช่วงเกษตรศิลปการ]] และ [[หลวงอิงคศรีกสิการ]] ผู้มีคุณูปการต่อวงการเกษตร อันได้แก่ สามารถพัฒนากิจการอันเกี่ยวด้วยพื้นดิน และสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ในด้านเกษตรกรรมไปเผยแพร่แก่ประชาชน ให้สามารถพลิกผืนดินว่างเปล่าให้กลับมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ


ทั้งนี้บูรพาจารย์การเกษตรทั้งสามท่าน ยังเป็นผู้สนับสนุนให้มีการศึกษาวิชาการเกษตรอย่างจริงจัง โดยเป็นผู้วางรากฐานการเกษตรและการศึกษาด้านเกษตรศาสตร์ของ[[ประเทศไทย ]] เนื่องจากวิชาการ[[เกษตรกรรม]]นั้นเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ทั้งวิชาการและการปฏิบัติ จึงเห็นควรให้มีการตั้งและดำรงอยู่ของสถาบันการศึกษาเกษตรเฉพาะทาง จนกระทั่งมีการพัฒนาการศึกษาวิชาการเกษตรจนเป็น[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]ในปัจจุบัน
'''“สามเสือเกษตร”''' เป็นฉายาที่[[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี]] (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ใช้เรียกแทนบุคคลสามคน ได้แก่ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ผู้มีคุณูปการในการพัฒนาวงการเกษตรไทยและเผยแพร่คุณประโยชน์ทางเกษตรกรรมไปสู่สาธารณชน นอกจากนี้ บุคคลทั้งสามยังเป็นผู้วางรากฐานการเกษตรและการศึกษาด้าน[[เกษตรศาสตร์]]ของ[[ประเทศไทย]] นำไปสู่การสถาปนาสถาบันทางเกษตรศาสตร์เป็นการเฉพาะอันซึ่งมีวิวัฒนาการมาเป็น[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]ในปัจจุบัน


แต่เดิมนั้น ในทศวรรษที่สามของการครบรอบการสถาปนา'''มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' พื้นที่ลานด้านหน้าสถาบันเกษตราธิการแห่งนี้ มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์[[หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ]] เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระคุณของท่าน โดยมี [[หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร]] ทรงประกอบพิธีเปิดอนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2511]] อันเป็นวันครบรอบ 25 ปีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จำเดิมในทศวรรษที่สามของการครบรอบการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พื้นที่ลานด้านหน้าสถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการสถาปนาอนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ขึ้น โดยมี[[หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร]] ทรงประกอบพิธีเปิดอนุสาวรีย์ในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2511]] ซึ่งเป็นวันครบรอบปีที่ 25 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต่อมาในวาระการครบรอบปีที่ 50 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) เพิ่มเติมให้เป็นอนุสาวรีย์ "สามเสือแห่งเกษตร" และมีพิธีเปิดในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2538]]

ต่อมาในวาระการครบรอบ 50 ปีแห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการก่อสร้างอนุสาวรีย์ '''สามเสือแห่งเกษตร''' ขึ้นเป็นการสมบูรณ์ เพื่อเป็นสิ่งน้อมนำใจอนุชนให้รำลึกถึงบูรพาจารย์ผู้ได้ร่วมกันอุทิศตนทำงานด้วยความพากเพียร อดทน และเสียสละอย่างสูงเพื่อวางรากฐาน'''การเกษตรแผนใหม่''' และ'''การศึกษาการเกษตร'''ให้เจริญก้าวหน้ามาตราบจนปัจจุบัน ถือได้ว่าทั้งสามท่านได้ร่วมกันทำงานอย่างหนัก ผลที่มีต่อประเทศชาตินั้นจึงไม่สามารถแบ่งแยกจากกันได้ โดยอนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตรนี้ ได้ทำการประกอบพิธีเปิดในวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2538]]


== ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ==
== ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ==
[[ภาพ:Three great good of agriculutres monument2.jpg|thumb|220px|บริเวณโดยรอบ อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ เมื่อ พ.ศ. 2552]]

เป็นลักษณะอนุสาวรีย์ประเภทบุคคล โดยเป็นรูปเหมือนในลักษณะยืน เรียงลำดับ ดังนี้

ตรงกลาง รูปเหมือนของ '''หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ''' ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก มองตรงมาเบื้องหน้า

ด้านซ้าย รูปเหมือนของ '''พระช่วงเกษตรศิลปการ''' ในท่ายืน มือซ้ายถือหนังสือ ชื่อ การเกษตรแผนใหม่


[[ภาพ:Three great good of agriculutres monument2.jpg|thumb|220px|บริเวณโดยรอบอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ (พ.ศ. 2552)]]
ด้านขวา รูปเหมือนของ '''หลวงอิงคศรีกสิการ''' ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก ใบหน้ามองเยื้องทางด้านซ้าย


อนุเสาวรีย์สามบูรพาจารย์มีลักษณะเป็นอนุสาวรีย์ประเภทบุคคล ประกอบด้วยรูปเหมือนบุคคลในท่ายืนสามคนตั้งเรียงลำดับ ดังนี้


#ตรงกลาง คือ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก มองตรงมาเบื้องหน้า
มีป้ายหินอ่อน ปรากฎข้อความจารึกในฐานของอนุสาวรีย์ว่า
#ด้านซ้าย คือ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) ในท่ายืน มือซ้ายถือหนังสือชื่อ "การเกษตรแผนใหม่"
#ด้านขวา คือ หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก ใบหน้ามองเยื้องทางด้านซ้าย


ณ ฐานอนุสาวรีย์มีป้ายหินอ่อนปรากฏข้อความจารึกว่า


{{คำพูด|'''อนุสาวรีย์ "สามเสือแห่งเกษตร" สร้างไว้เป็นสิ่งน้อมนำใจอนุชนให้รำลึกถึงบูรพาจารย์'''
{{คำพูด|อนุสาวรีย์ "สามเสือแห่งเกษตร" สร้างไว้เป็นสิ่งน้อมนำใจอนุชนให้รำลึกถึงบูรพาจารย์


'''ผู้ได้อุทิศตนร่วมกันทำงานด้วยความพากเพียร อดทน และเสียสละอย่างสูง เพื่อวางรากฐานการเกษตรแผนใหม่'''
ผู้ได้อุทิศตนร่วมกันทำงานด้วยความพากเพียร อดทน และเสียสละอย่างสูง เพื่อวางรากฐานการเกษตรแผนใหม่


'''และการศึกษาด้านการเกษตรให้เจริญก้าวหน้ามาตราบจนปัจจุบัน'''
และการศึกษาด้านการเกษตรให้เจริญก้าวหน้ามาตราบจนปัจจุบัน


'''ประกอบพิธีเปิด เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2538'''}}
ประกอบพิธีเปิด เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2538}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:38, 23 เมษายน 2552

ไฟล์:Three great good of agriculutres monument1.jpg
อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ ในปัจจุบัน

อนุเสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หรือ อนุสาวรีย์สามเสือแห่งเกษตร เป็นอนุเสารีย์รูปเหมือนของสามบูรพาจารย์ผู้ริเริ่มสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ประดิษฐาน ณ ลานอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ หน้าสถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

ประวัติ

ไฟล์:Suwan great agri monument.JPG
อนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ เมื่อ พ.ศ. 2511

“สามเสือเกษตร” เป็นฉายาที่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ใช้เรียกแทนบุคคลสามคน ได้แก่ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ผู้มีคุณูปการในการพัฒนาวงการเกษตรไทยและเผยแพร่คุณประโยชน์ทางเกษตรกรรมไปสู่สาธารณชน นอกจากนี้ บุคคลทั้งสามยังเป็นผู้วางรากฐานการเกษตรและการศึกษาด้านเกษตรศาสตร์ของประเทศไทย นำไปสู่การสถาปนาสถาบันทางเกษตรศาสตร์เป็นการเฉพาะอันซึ่งมีวิวัฒนาการมาเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปัจจุบัน

จำเดิมในทศวรรษที่สามของการครบรอบการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ พื้นที่ลานด้านหน้าสถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการสถาปนาอนุสาวรีย์หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ขึ้น โดยมีหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ทรงประกอบพิธีเปิดอนุสาวรีย์ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511 ซึ่งเป็นวันครบรอบปีที่ 25 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต่อมาในวาระการครบรอบปีที่ 50 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) เพิ่มเติมให้เป็นอนุสาวรีย์ "สามเสือแห่งเกษตร" และมีพิธีเปิดในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม

ไฟล์:Three great good of agriculutres monument2.jpg
บริเวณโดยรอบอนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ (พ.ศ. 2552)

อนุเสาวรีย์สามบูรพาจารย์มีลักษณะเป็นอนุสาวรีย์ประเภทบุคคล ประกอบด้วยรูปเหมือนบุคคลในท่ายืนสามคนตั้งเรียงลำดับ ดังนี้

  1. ตรงกลาง คือ หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก มองตรงมาเบื้องหน้า
  2. ด้านซ้าย คือ พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) ในท่ายืน มือซ้ายถือหนังสือชื่อ "การเกษตรแผนใหม่"
  3. ด้านขวา คือ หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์) ในท่ายืน มือซ้ายถือหมวก ใบหน้ามองเยื้องทางด้านซ้าย

ณ ฐานอนุสาวรีย์มีป้ายหินอ่อนปรากฏข้อความจารึกว่า

อนุสาวรีย์ "สามเสือแห่งเกษตร" สร้างไว้เป็นสิ่งน้อมนำใจอนุชนให้รำลึกถึงบูรพาจารย์

ผู้ได้อุทิศตนร่วมกันทำงานด้วยความพากเพียร อดทน และเสียสละอย่างสูง เพื่อวางรากฐานการเกษตรแผนใหม่

และการศึกษาด้านการเกษตรให้เจริญก้าวหน้ามาตราบจนปัจจุบัน

ประกอบพิธีเปิด เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2538

อ้างอิง