ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ก.ศ.ร. กุหลาบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ก.ศ.ร. กุหลาบ''' ([[พ.ศ. 2377]] - [[พ.ศ. 2464]]) มีนามเดิมว่า '''กุหลาบ ตฤษณานนท์''' (หนังสือบางเล่มเขียนว่า ตรุษ ตฤษณานนท์) เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำเสนอความคิดเห็นทางการเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5
'''ก.ศ.ร. กุหลาบ''' ([[พ.ศ. 2377]] - [[พ.ศ. 2464]]) มีนามเดิมว่า '''กุหลาบ ตฤษณานนท์''' (หนังสือบางเล่มเขียนว่า ตรุษ ตฤษณานนท์) เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำเสนอความคิดเห็นทาง


นังสือเหล่านั้น ทั้งพงศาวดาร และชีวประวัติบุคคลสำคัญ ออกมาพิมพ์เผยแพร่ให้กับบุคคลภายนอก โดยพยายามปรับเปลี่ยนเนื้อเรื่องและถ้อยคำของหนังสือใหม่ เพื่อไม่ให้ถูกจับได้ บ้างก็ว่านายกุหลาบได้แต่งเนื้อเรื่องขึ้นมาเองอย่างไม่เหมาะสม<ref name="กุ2">http://readjournal.org/contents/thongchai_kularp/</ref>
== ประวัติ ==
{{wikisource|1=นิทานโบราณคดี/นิทานที่ ๙|2=ประวัตินายกุหลาบ โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ}}

กุหลาบ ตฤษณานนท์ เกิดในปี พ.ศ. 2377 เมื่ออายุได้สี่ขวบ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี]] พระเจ้าลูกเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้ทรงขอไปเป็นบุตรบุญธรรม และเติบโตใน[[วังหลวง]] เมื่อโตขึ้นจึงออกมาอยู่นอกวังในฐานะมหาดเล็กวังนอก บรรพชาเป็นสามเณร โดย[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส]] ทรงเป็นองค์อุปัชฌาย์ ได้ฉายาว่า '''เกศโร''' ซึ่งต่อมาได้นำชื่อนี้มาเป็นชื่อหน้าของตนตามแบบตะวันตกว่า '''ก.ศ.ร. กุหลาบ'''

เนื่องจากนายกุหลาบได้ใช้ชีวิตอยู่ในวัง จึงมีโอกาสได้อ่านหนังสือตำราภาษาไทยจำนวนมาก และได้แอบคัดลอกหนังสือเหล่านั้น ทั้งพงศาวดาร และชีวประวัติบุคคลสำคัญ ออกมาพิมพ์เผยแพร่ให้กับบุคคลภายนอก โดยพยายามปรับเปลี่ยนเนื้อเรื่องและถ้อยคำของหนังสือใหม่ เพื่อไม่ให้ถูกจับได้ บ้างก็ว่านายกุหลาบได้แต่งเนื้อเรื่องขึ้นมาเองอย่างไม่เหมาะสม<ref name="กุ2">http://readjournal.org/contents/thongchai_kularp/</ref>


นายกุหลาบเคยเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์[[สยามออบเซิร์ฟเวอร์]] และได้ออกหนังสือพิมพ์ชื่อ "สยามประเภท" ในปี พ.ศ. 2440 เขียนบทความวิพากษ์สังคม เสียดสีชนชั้นสูงที่ทำตัวฟุ้งเฟ้อ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบพวกหัวก้าวหน้า ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก จึงเป็นที่เพ่งเล็งจากทางการ แต่โชคดีที่ไม่ได้ถูกลั่นแกล้งจนต้องติดคุกเหมือน [[เทียนวรรณ]]
นายกุหลาบเคยเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์[[สยามออบเซิร์ฟเวอร์]] และได้ออกหนังสือพิมพ์ชื่อ "สยามประเภท" ในปี พ.ศ. 2440 เขียนบทความวิพากษ์สังคม เสียดสีชนชั้นสูงที่ทำตัวฟุ้งเฟ้อ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบพวกหัวก้าวหน้า ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก จึงเป็นที่เพ่งเล็งจากทางการ แต่โชคดีที่ไม่ได้ถูกลั่นแกล้งจนต้องติดคุกเหมือน [[เทียนวรรณ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:23, 16 กุมภาพันธ์ 2563

ก.ศ.ร. กุหลาบ (พ.ศ. 2377 - พ.ศ. 2464) มีนามเดิมว่า กุหลาบ ตฤษณานนท์ (หนังสือบางเล่มเขียนว่า ตรุษ ตฤษณานนท์) เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำเสนอความคิดเห็นทาง

นังสือเหล่านั้น ทั้งพงศาวดาร และชีวประวัติบุคคลสำคัญ ออกมาพิมพ์เผยแพร่ให้กับบุคคลภายนอก โดยพยายามปรับเปลี่ยนเนื้อเรื่องและถ้อยคำของหนังสือใหม่ เพื่อไม่ให้ถูกจับได้ บ้างก็ว่านายกุหลาบได้แต่งเนื้อเรื่องขึ้นมาเองอย่างไม่เหมาะสม[1]

นายกุหลาบเคยเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์สยามออบเซิร์ฟเวอร์ และได้ออกหนังสือพิมพ์ชื่อ "สยามประเภท" ในปี พ.ศ. 2440 เขียนบทความวิพากษ์สังคม เสียดสีชนชั้นสูงที่ทำตัวฟุ้งเฟ้อ อีกทั้งยังมีแนวคิดแบบพวกหัวก้าวหน้า ซึ่งได้รับอิทธิพลจากตะวันตก จึงเป็นที่เพ่งเล็งจากทางการ แต่โชคดีที่ไม่ได้ถูกลั่นแกล้งจนต้องติดคุกเหมือน เทียนวรรณ

ก.ศ.ร. กุหลาบ เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2464 อายุได้ 87 ปี

ผลกระทบ

จากการที่นายกุหลาบได้ปรับเปลี่ยนเนื้อเรื่อง (หรือแต่งเนื้อเรื่องขึ้นมาเองอย่างไม่เหมาะสม) และเสียดสีชนชั้นสูง จึงทำพระให้พระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 5 ไม่พอใจ และใช้คำว่า "กุ" ซึ่งเป็นพยางค์ขึ้นต้นของชื่อนายกุหลาบ มาเป็นศัพท์สแลง ที่แปลว่าโกหก หรือสร้างเรื่อง[1]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ยี อี เยรินี กับ ก.ศ.ร. กุหลาบ และ “วงวิชาการ” ของสยามในปลายศตวรรษที่ ๑๙ วารสารเมืองโบราณ
  • ชีวประวัติ ก.ศ.ร. กุหลาบ
  • สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย พ.ศ. ๑๗๖๒ - ๒๕๐๐. กรุงเทพ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, พ.ศ. 2547. 801 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-92371-5-3
  • ธงชัย วินิจจะกูล, "กุ ลอบ ลอก แต่งแบบไพร่ๆ: ความผิดของ ก.ศ.ร. กุหลาบที่ตัดสินโดยนักประวัติศาสตร์อำมาตย์," อ่าน ปีที่ 3 ฉบับื้ 2 (มกราคม-มีนาคม 2554), หน้า 12-28.
  • บุญพิสิฐ ศรีหงส์ (ค้นคว้า) กองบรรณาธิการ (เรียบเรียง), "แกะปมจินตภาพ ก.ศ.ร. กุหลาบ จากพระนิพนธ์สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงฯ," อ่าน ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (มกราคม-มีนาคม 2554), หน้า 29-31.
  • บุญพิสิฐ ศรีหงส์. นาย ก.ศ.ร.กุหลาบ แห่งกรุงสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2560.