ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนลาซาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Asujiman (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{กล่องข้อมูล โรงเรียน | name = โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ | native_l..."
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
}}
}}


<br />
'''โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ''' เป็นโรงเรียนสหศึกษาเอกชน[[โรมันคาทอลิก]] ที่[[คณะภราดาลาซาล]]ตั้งขึ้นเป็นสาขาที่ 3 และสาขาล่าสุดของเครือข่ายโรงเรียนลาซาลในประเทศไทยในปี [[พ.ศ. 2506]] โดย 2 แห่งก่อนหน้านี้คือ[[โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์]]และ[[โรงเรียนลาซาลจันทบุรี (มารดาพิทักษ์)]] ที่ตั้งในปี [[พ.ศ. 2503]] และ [[พ.ศ. 2505]] ตามลำดับ

โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ ตั้งอยู่ที่ 752 [[ถนนลาซาล]] [[แขวงบางนาใต้]] [[เขตบางนา]] [[กรุงเทพมหานคร]] เปิดสอนในระดับอนุบาล จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก่อตั้งในวันที่ [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2506]] โดยมีภราดาพิเอเลต์ ไมเคิล ดำรงตำแหน่ง​ผู้รับใบอนุญาตคนแรก และมีนักบุญ[[ฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล]] เป็นองค์อุปถัมภ์ของโรงเรียน

== ประวัติ ==

=== พัฒนาการของโรงเรียนลาซาล ===

ก่อตั้งในวันที่ [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2506]] โดยมีภราดาพิเอเลต์ ไมเคิล ดำรงตำแหน่ง​ผู้รับใบอนุญาตคนแรก เปิดทำการเรียนการสอนวันแรก ในวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2506]] เป็นโรงเรียนชายล้วน แรกเริ่มมีนักเรียนทั้งหมด 342 คน ครู 11 คน คณะภราดา 4 ท่าน เปิดสอนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 และได้รับอนุญาตให้ใช้อักษรย่อ ล.ซ. เมื่อ [[2 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2506]]

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2518|2518]] มีคณะภคินี(นักบวชที่เป็นสตรี) มาร่วมงาน 4 ท่าน

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2521|2521]] โรงเรียนเปิดรับนักเรียนหญิง

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2522|2522]] โรงเรียนเปิดสอนนักเรียนในระดับอนุบาล และสร้างอาคารใหม่ ความสูง 3 ชั้น สำหรับนักเรียนอนุบาลโดยเฉพาะ ตั้งชื่อว่าอาคารแมรี่แอนน์

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2524|2524]] โรงเรียนเปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2531|2531]] เปิดใช้อาคารมิเกลเพิ่มอีก 1 หลัง เพื่อเพิ่มจำนวนห้องเรียนให้เพียงพอต่อการที่มีนักเรียนเพิ่มขึ้น และต้องการห้องเรียนเพิ่มขึ้น โดยอาคารใหม่มีความสูง 4 ชั้น และเปิดใช้หอประชุมเอนกประสงค์ในโรงเรียน ชื่อ หอประชุม JVK HALL

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2546|2546]] หลังการเปิดโรงเรียนครบ 40 ปี ในปีที่ 41 ได้มีการฉลองการก่อตั้งโรงเรียนครบ 40 ปี

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2548|2548]] อาคารยวง เดอ ลาซาล ซึ่งเป็นอาคารหลังแรกของโรงเรียน ได้เกิดการทรุดตัวเอนไปด้านหน้าอย่างน่าเป็นห่วง โรงเรียนจึงดำเนินการซ่อมแซมฐานอาคาร เป็นการใช้งบประมาณครั้งใหญ่ คือประมาณ 33 ล้านบาท ในการยกตัวตึกขึ้น ซ่อมแซมและเสริมฐานอาคาร และในการเสริมฐานให้สูง ยกตัวฐานขึ้นสูง 1.5 เมตร เพื่อหลีกเลี่ยงน้ำท่วมชั้นล่างของอาคารในช่วงฤดูฝน และนอกจากนี้ โรงเรียนได้สร้างอาคารใหม่ คืออาคารพระเมตตาซ้อนอยู่หลังอาคารยวง เดอ ลาซาล เพื่อรองรับจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มห้องปฏิบัติการ หรือห้อง lab วิชาต่างๆขึ้น

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2549|2549]] เริ่มนำครูต่างชาติมาสอนวิชาการในโรงเรียน

=== โรงเรียนลาซาลในปัจจุบัน ===

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2552|2552]] โรงเรียนลาซาลมี[[นักเรียน]]ทั้งหมด 5,089 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนชาย 2,855 คน นักเรียนหญิง 2,234 คน และมีครูทั้งหมด 264 คน โดยแบ่งเป็นครูชาย 62 คน ครูหญิง 202 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 106 ห้อง โดยแบ่งเป็นระดับก่อนประถมศึกษา(อนุบาล) 18 ห้อง ประถมศึกษา 54 ห้อง และมัธยมศึกษา 34 ห้อง

== ความหมายของสัญลักษณ์โรงเรียน ==

[[ไฟล์:LSC-logo4.jpg|thumb|right|90 px|ตราโรงเรียนลาซาลกรุงเทพ|link=Special:FilePath/LSC-logo4.jpg]]

=== ตราโรงเรียน ===

* '''ดาวที่อยู่ภายในสุด''' มีความหมายว่า "การศึกษาและการอบรม หล่อหลอมบุคคลให้เป็นผู้ใฝ่ศึกษา มีวินัยและคุณธรรมดุจดาวทอแสงความรุ่งโรจน์ตลอดกาล"

การที่ดาวนี้มีห้าแฉก หมายถึงองค์ประกอบห้าอย่าง ที่มีความหมายต่อโรงเรียน คือ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และชุมชน

* '''วงรีที่ล้อมรอบดาวไว้''' มีความหมายว่า "ภราดรภาพ เอกภาพ"

* '''ช่อชัยพฤกษ์ที่ล้อมวงรีไว้''' มีความหมายว่า "เป็นเลิศในด้านความรู้ ความสามารถ บุคลิกภาพดี มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ยึดมั่นในหลักธรรมของศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี"

=== สีประจำโรงเรียน ===

โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ มี '''[[สีดำ|สีเขียว]]''' เป็นสีประจำโรงเรียน โดยแต่ละสีมีความหมายดังนี้

* '''สีเขียว มีความหมายว่า กัญชาของดี'''

== อาคารสถานที่ ==

โรงเรียนลาซาล มีอาคารสถานที่ต่างๆดังนี้

=== สถานที่สาธารณะ ===
* อาคารจอห์น ซีน่า เดอ ลาซาล เป็นอาคารเรียนหลังที่เก่าที่สุดที่อยู่ถึงปัจจุบัน สร้างใน [[พ.ศ. 2506]] ปัจจุบันใช้เป็นอาคารเรียนระดับประถมศึกษา
* อาคารโจเซฟ โจสตาร์ อาคารเรียนที่เก่าเป็นอันดับ 2 ที่ยังใช้อยู่ถึงปัจจุบัน ปัจจุบันใช้เป็นอาคารเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
* อาคารคุโจ โจทาโร่ เป็นอาคารเรียนที่เก่าเป็นอันดับ 3 ที่ยังใช้ในปัจจุบัน สร้างใน [[พ.ศ. 2522]] ปัจจุบันใช้เป็นอาคารเรียนระดับก่อนประถมศึกษา
* อาคารโจนาทาน โจสตาร์ เป็นอาคารเรียนหลังที่เก่าเป็นอันดับ 4 ที่ยังใช้ในปัจจุบัน สร้างใน [[พ.ศ. 2531]] ปัจจุบันใช้เป็นอาคารเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
* อาคารพระเมตตา เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 5 ชั้น และเป็นอาคารเรียนหลังที่ 5 และหลังล่าสุด
* อาคารห้องสมุด 2 แห่ง
* JVK Hall ห้องประชุมขนาดยักษ์ใหญ่ จุผู้คนได้ราวๆ 6,000 คน มักใช้เป็นอาคารในการประชุมใหญ่ โรงยิม หรือสถานที่แข่งขันกีฬาในร่ม หลังคาด้านนอกฮอลล์ จะมีอักษร LA SALLE COLLEGE สีขาวเขียนไว้ เป็นสัญลักษณ์ที่มองเห็นได้ในระยะไกล
* วัดน้อยนักบุญยวง ลาซาล เป็นสถานที่ทางศาสนาคริสต์ที่มักใช้ประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ
* ลานจอดรถขนาดใหญ่ จุรถได้ประมาณ 500 คัน
* สนามบาสเกตบอล สนามวอลเลย์บอล สนามฟุตบอล สนามแชร์บอล สโมสรเทเบิลเทนนิส ลานกีฬาเอนกประสงค์ ใกล้ๆอาคารแมรี่แอนน์ และอัฒจรรย์ขนาดความจุ 300 คนที่สนามบาสเกตบอล
* โรงอาหาร 2 แห่ง
* สระว่ายน้ำ
* ห้องโสต ห้อง Science Lab และห้อง Computer เป็นสื่อการสอนนอกห้องเรียน
* สวนไดโนเสาร์ จัดตั้งหุ่นจำลองไดโนเสาร์พันธุ์ต่างๆ กลางแจ้ง
* สวนเมาคลี จัดตั้งหุ่นจำลองตัวละครในนิยายเรื่อง เมาคลี และสัตว์ประจำราศีต่างๆ นิยมใช้ทำกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี และในช่วงเทศกาลประจำปีของโรงเรียนปี 2548 เป็นต้นมา โรงเรียนจะใช้สวนเมาคลี ทำเป็นสนาม Paint Ball
* สหกรณ์โรงเรียน จัดขายอุปกรณ์การเรียน และสิ่งของต่างๆ (Minimart)
* Kan Mini Hall อาคารขนาดใหญ่ มีการแบ่งการใช้งานเป็น 3 ส่วน คือ
**ห้องประชุมปรับอากาศขนาดใหญ่ จุคนได้มากกว่า 200 คน มีอุปกรณ์ Multimedia และโปรเจกเตอร์ที่ฉายให้เห็นได้ทั่วถึง สามารถฉายภาพยนตร์ และผลงานแบบ Slideshow ต่างๆ ได้
**ห้องโยธวาทิต
**ห้องประชุมคณะผู้บริหาร ลักษณะคล้ายห้องประชุมตามบริษัทต่างๆ โดยทั่วไป จะมักไม่อนุญาตให้นักเรียนเข้าห้องนี้
* สวนสัตว์ลาซาล มีสัตว์หลากหลายชนิดและป้ายรายละเอียดสำหรับผู้ที่สนใจศึกษา

=== สถานที่ส่วนบุคคล ===

* บ้านพักคณะภราดาและภคินี คณะภราดาและภคินีมักจะพักอยู่ในบ้านหลังนี้ จึงเป็นเขตที่บุคคลทั่วไปเข้าไม่ได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาต
* ลาซาลวิลล่า สวนส่วนบุคคล โดยทั่วไปมักไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้า

== ผู้บริหารโรงเรียน ==

=== ผู้รับใบอนุญาต (อธิการ)===

{|class=wikitable
| นาม || วันที่เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ || วันที่ลงจากตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
|-
| ภราดาจูเลียส โนวา โครโน ||[[23 เมษายน]] [[พ.ศ. 2506]] || [[19 เมษายน]] [[พ.ศ. 2509]]
|-
| ภราดา วันได อัลเบิร์ต ||[[19 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2509]] || [[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2510]]
|-
| ภราดาโยเซฟ เหงียน วันคอย เรโนด์ || [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2510]] || [[9 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2519]]
|-
| ภราดาอำนวย ปิ่นรัตน์ || [[22 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2519]] || [[20 กันยายน]] [[พ.ศ. 2522]]
|-
| ซิสเตอร์สุนันทา เจียรนัยกุล || [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2522]] || [[20 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2533]]
|-
| ภราดากันย์ วงษ์ชีรี || [[21 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2534]] || [[31 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2546]]
|-
| ภราดาชัยพร กิจมงคล || [[1 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2546]] || [[31 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2547]]
|-
| ภราดาบุญเชิด เกตุรัตน์ || [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] || [[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2555]]
|-
| ภราดาประภาส ศรีเจริญ || [[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2555]] || [[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2558]]
|-
| ภราดาปิติ เส็งหพันธ์ ||[[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2558]] || ----ปัจจุบัน----
|}

=== ผู้จัดการ ===

{|class=wikitable
| นาม || วันที่เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ || วันที่ออกจากตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
|-
| นายยงยุทธ โชติระวี || [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2506]] || [[12 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2522]]
|-
| นายคงศักดิ์ ชลหาญ || [[13 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2522]] || [[31 มกราคม]] [[พ.ศ. 2523]]
|-
| ภราดากันย์ วงษ์ชีรี || [[1 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2523]] || [[4 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2526]]
|-
| ซิสเตอร์ซุน โกคู ||[[5 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2526]] || ---ปัจจุบัน---
|}

=== ครูใหญ่ ===

{|class=wikitable
| นาม || วันที่เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ || วันที่ออกจากตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
|-
| นายชิน ประกอบกิจ || [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2506]] || [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2510]]
|-
| นายสีถา รัตนตรัยภพ || [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2510]] || [[28 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2512]]
|-
| นายคงศักดิ์ ชลหาญ || [[29 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2512]] || [[15 เมษายน]] [[พ.ศ. 2516]]
|-
| นายสัมพันธ์ งามดี || [[16 เมษายน]] [[พ.ศ. 2516]] || [[3 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2523]]
|-
| ภราดากันย์ วงษ์ชีรี || [[18 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2523]] || [[4 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2526]]
|-
| ซิสเตอร์สุนันทา เจียรนัยกุล || [[5 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2526]] || [[3 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2526]]
|-
| นายวิรัตน์ คำเจริญ || [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2526]] || ---ปัจจุบัน---
|}

== รางวัลที่ได้รับ ==

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2539|2539]] ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่น จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2548|2548]] ได้รับรางวัลการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความดีเด่น ในนักเรียนระดับประถม และมัธยมศึกษา

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2548|2548]] ได้รับรางวัลประกาศนียบัตร การเป็นประธานคณะกรรมการวัดผล และประเมินผลงานเวทีวิชาการ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ 1 กรุงเทพมหานคร

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2548|2548]] ได้รับรางวัลพระราชทานจาก[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ในโครงการแมกไม้มิ่งเมือง ประเภทสวนสวยโรงเรียนงาม ของกรุงเทพมหานคร

ในปีการศึกษา [[พ.ศ. 2548|2548]] ได้รับโล่รางวัลพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ในโอกาสที่ผู้ที่มีความเกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย[[สึนามิ]] ผ่านทางมูลนิธิประชานุเคราะห์


== อ้างอิง ==

http://www.lasalleschool.ac.th/home/executive.php ทำเนียบคณะผู้บริหารโรงเรียน ในอดีต ถึงปัจจุบัน

http://www.lasalleschool.ac.th/home/history.php ประวัติโรงเรียน ตั้งแต่เริ่มต้น ถึงปัจจุบัน

http://www.lasalleschool.ac.th/home/symbol.php ความหมายของสัญลักษณ์โรงเรียน

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.lasalleschool.ac.th/ โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ]
{{Geolinks-bldg|13.657864|100.631820}}

{{องค์กรในเครือมูลนิธิลาซาลแห่งประเทศไทย}}


[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร|ลาซาล]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร|ลาซาล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:20, 3 กุมภาพันธ์ 2563

โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ
La Salle School Bangkok
ที่ตั้ง
แผนที่
ข้อมูล
ชื่ออื่นล.ซ. (LSC)
ประเภทเอกชน
คำขวัญมีวินัย​ ​ใฝ่ศึกษา​ ​กิจกรรมก้าวหน้า​ ​รักษาคุณธรรม
สถาปนา10 เมษายน พ.ศ. 2506
รหัส1110100778
ผู้อำนวยการภราดาบุญเชิด​ ​เกตุรัตน์
สี   สีดำ-สีแดง
เพลงลาซาลตระการยิ่งนัก, หนึ่งเดียวใจเดียว, มาร์ชลาซาล
เว็บไซต์www.lasalleschool.ac.th