ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รวงผึ้ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = รวงผึ้ง
| status =
| image =
| image_caption =
| domain =
| regnum = [[Plantae]]
| divisio = [[Tracheophyta]]
| classis = [[Magnoliopsida]]
| ordo = [[Malvales]]
| familia = [[Malvaceae]]
| genus = ''[[Schoutenia]]''
| species = '''''S. glomerata'''''
| binomial = ''Schoutenia glomerata''
| binomial_authority =
| range_map =
| range_map_caption =
| image2 =
| image2_caption =
| synonyms =
}}

'''รวงผึ้ง''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Schoutenia glomerata}}) เป็นพืชใน[[วงศ์ชบา]] มีถิ่นกำเนิดใน[[มาลายา]]<ref>{{cite web|url=http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:835082-1|title=''Schoutenia glomerata'' King - Plants of the World Online|website=Kew Science|accessdate=April 30, 2019}}</ref> ในประเทศไทยพบมากในป่าทางภาคเหนือ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000–1,100 เมตร<ref>{{cite web|url=https://home.kapook.com/view162236.html|title=ต้นรวงผึ้ง พรรณไม้หอมไทยแท้ ต้นไม้ประจำพระองค์ รัชกาลที่ 10|website=Kapok.com|date=December 8, 2016|accessdate=July 24, 2019}}</ref> ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 8 เมตร ใบรูปมนรีหรือขอบขนานปลายแหลม ขอบใบเรียบ ขนาด 4–12 × 3.5–5 เซนติเมตร ฐานใบป้านและมักไม่สมมาตร ก้านใบยาว 0.2–0.9 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองสด ขนาด 1.3–1.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 5 กลีบ เชื่อมกันใกล้ฐานเป็นรูปถ้วย ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผู้จำนวนมาก เกสรตัวเมียปลายแยก 5 พู รังไข่กลม ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลกลมเป็นแบบแห้งไม่แตก ขนาด 0.5–1 เซนติเมตร<ref>{{cite web|url=https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-knowledge-article-info.php?id=377|title=รวงผึ้ง พรรณไม้ประจำรัชกาลที่ 10|website=คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|date=March 5, 2017|accessdate=April 30, 2019}}</ref>
'''รวงผึ้ง''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Schoutenia glomerata}}) เป็นพืชใน[[วงศ์ชบา]] มีถิ่นกำเนิดใน[[มาลายา]]<ref>{{cite web|url=http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:835082-1|title=''Schoutenia glomerata'' King - Plants of the World Online|website=Kew Science|accessdate=April 30, 2019}}</ref> ในประเทศไทยพบมากในป่าทางภาคเหนือ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000–1,100 เมตร<ref>{{cite web|url=https://home.kapook.com/view162236.html|title=ต้นรวงผึ้ง พรรณไม้หอมไทยแท้ ต้นไม้ประจำพระองค์ รัชกาลที่ 10|website=Kapok.com|date=December 8, 2016|accessdate=July 24, 2019}}</ref> ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 8 เมตร ใบรูปมนรีหรือขอบขนานปลายแหลม ขอบใบเรียบ ขนาด 4–12 × 3.5–5 เซนติเมตร ฐานใบป้านและมักไม่สมมาตร ก้านใบยาว 0.2–0.9 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองสด ขนาด 1.3–1.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 5 กลีบ เชื่อมกันใกล้ฐานเป็นรูปถ้วย ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผู้จำนวนมาก เกสรตัวเมียปลายแยก 5 พู รังไข่กลม ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลกลมเป็นแบบแห้งไม่แตก ขนาด 0.5–1 เซนติเมตร<ref>{{cite web|url=https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/service-knowledge-article-info.php?id=377|title=รวงผึ้ง พรรณไม้ประจำรัชกาลที่ 10|website=คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|date=March 5, 2017|accessdate=April 30, 2019}}</ref>


รวงผึ้งเป็นต้นไม้ประจำรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/news/local/1320510|title="รวงผึ้ง" ดอกสวย หอมแรงมีต้นพันธุ์ขาย|website=ไทยรัฐ|date=June 29, 2018|accessdate=April 30, 2019}}</ref> ปลูกเป็นไม้ประดับบนดินร่วน ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม<ref>{{cite web|url=http://www.royalparkrajapruek.org/Knowledge/view/25|title="รวงผึ้ง" ไม้หอมไทยแท้|website=อุทยานหลวงราชพฤกษ์|date=June 20, 2016|accessdate=April 30, 2019}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.baanlaesuan.com/plants/perennial/137228.html|title=รวงผึ้ง|website=บ้านและสวน|date=May 24, 2016|accessdate=April 30, 2019}}</ref>
รวงผึ้งเป็นต้นไม้ประจำรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/news/local/1320510|title="รวงผึ้ง" ดอกสวย หอมแรงมีต้นพันธุ์ขาย|website=ไทยรัฐ|date=June 29, 2018|accessdate=April 30, 2019}}</ref> ปลูกเป็นไม้ประดับบนดินร่วน ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม<ref>{{cite web|url=http://www.royalparkrajapruek.org/Knowledge/view/25|title="รวงผึ้ง" ไม้หอมไทยแท้|website=อุทยานหลวงราชพฤกษ์|date=June 20, 2016|accessdate=April 30, 2019}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.baanlaesuan.com/plants/perennial/137228.html|title=รวงผึ้ง|website=บ้านและสวน|date=May 24, 2016|accessdate=April 30, 2019}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:46, 20 ตุลาคม 2562

รวงผึ้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Schoutenia glomerata) เป็นพืชในวงศ์ชบา มีถิ่นกำเนิดในมาลายา[1] ในประเทศไทยพบมากในป่าทางภาคเหนือ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000–1,100 เมตร[2] ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 8 เมตร ใบรูปมนรีหรือขอบขนานปลายแหลม ขอบใบเรียบ ขนาด 4–12 × 3.5–5 เซนติเมตร ฐานใบป้านและมักไม่สมมาตร ก้านใบยาว 0.2–0.9 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองสด ขนาด 1.3–1.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 5 กลีบ เชื่อมกันใกล้ฐานเป็นรูปถ้วย ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผู้จำนวนมาก เกสรตัวเมียปลายแยก 5 พู รังไข่กลม ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลกลมเป็นแบบแห้งไม่แตก ขนาด 0.5–1 เซนติเมตร[3]

รวงผึ้งเป็นต้นไม้ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว[4] ปลูกเป็นไม้ประดับบนดินร่วน ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม[5][6]

อ้างอิง

  1. "Schoutenia glomerata King - Plants of the World Online". Kew Science. สืบค้นเมื่อ April 30, 2019.
  2. "ต้นรวงผึ้ง พรรณไม้หอมไทยแท้ ต้นไม้ประจำพระองค์ รัชกาลที่ 10". Kapok.com. December 8, 2016. สืบค้นเมื่อ July 24, 2019.
  3. "รวงผึ้ง พรรณไม้ประจำรัชกาลที่ 10". คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. March 5, 2017. สืบค้นเมื่อ April 30, 2019.
  4. ""รวงผึ้ง" ดอกสวย หอมแรงมีต้นพันธุ์ขาย". ไทยรัฐ. June 29, 2018. สืบค้นเมื่อ April 30, 2019.
  5. ""รวงผึ้ง" ไม้หอมไทยแท้". อุทยานหลวงราชพฤกษ์. June 20, 2016. สืบค้นเมื่อ April 30, 2019.
  6. "รวงผึ้ง". บ้านและสวน. May 24, 2016. สืบค้นเมื่อ April 30, 2019.