ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรขาคณิตวิเคราะห์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jamesped629 (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงการพิมพ์และเนื้อหาบางส่วนที่เป็นคณิตศาสตร์มากขึ้น
Jamesped629 (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงส่วนที่ขาดหายไป
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


ซึ่งจะนับจตุภาคที่ 1 ในส่วนพื้นที่บนขวา แล้ววนทวนเข็มนาฬิกา
ซึ่งจะนับจตุภาคที่ 1 ในส่วนพื้นที่บนขวา แล้ววนทวนเข็มนาฬิกา

<br />


== จุด (Point) ==
== จุด (Point) ==
บรรทัด 25: บรรทัด 27:


=== 1. การหาระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ===
=== 1. การหาระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ===
'''ทฤษฎีบทที่ 1''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math>และให้ ''<math>|PQ|</math>'' เป็นระยะห่างระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' จะได้ว่า''<math> |PQ|=\sqrt{\bigl(x_{1}-x_{2})^2+\bigl(y_{1}-y_{2}\bigr)^2}</math>''
<blockquote>
'''ทฤษฎีบทที่ 1''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math>และให้ ''<math>|PQ|</math>'' เป็นระยะห่างระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' จะได้ว่า''<math> |PQ|=\sqrt{\bigl(x_{1}-x_{2})^2+\bigl(y_{1}-y_{2}\bigr)^2}</math>''
</blockquote>


=== 2. จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ===
=== 2. จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ===
'''ทฤษฎีบทที่ 2''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math> และให้ <math> R</math> เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง <math>PQ</math> แล้ว พิกัดของจุด ''<math> R</math>'' คือ <math> R\biggl(\frac{x_{1}+x_{2}}{2},\frac{y_{1}+y_{2}}{2}\biggr)</math>
<blockquote>
'''ทฤษฎีบทที่ 2''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math> และให้ <math> R</math> เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง <math>PQ</math> แล้ว พิกัดของจุด ''<math> R</math>'' คือ <math> R\biggl(\frac{x_{1}+x_{2}}{2},\frac{y_{1}+y_{2}}{2}\biggr)</math>
</blockquote>


=== 3.จุดที่แบ่งระยะทางเป็นระยะ <math> m:n</math> ===
=== 3.จุดที่แบ่งระยะทางเป็นระยะ <math> m:n</math> ===
<blockquote>
'''ทฤษฎีบทที่ 3''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math> และให้ <math> R</math> เป็นเป็นจุดที่แบ่งระยะทางเป็นสัดส่วนระยะ <math> m:n</math>ระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง <math>PQ</math> แล้ว พิกัดของจุด ''<math> R</math>'' คือ <math> R\biggl(\frac{nx_{1}+mx_{2}}{m+n},\frac{ny_{1}+my_{2}}{m+n}\biggr)</math>
'''ทฤษฎีบทที่ 3''' กำหนดให้ <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ <math>XY</math> และให้ <math> R</math> เป็นเป็นจุดที่แบ่งระยะทางเป็นสัดส่วนระยะ <math> m:n</math>ระหว่างจุด ''<math>P</math>'' และจุด ''<math>Q</math>'' ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง <math>PQ</math> แล้ว พิกัดของจุด ''<math> R</math>'' คือ <math> R\biggl(\frac{nx_{1}+mx_{2}}{m+n},\frac{ny_{1}+my_{2}}{m+n}\biggr)</math>
</blockquote>


== เส้นตรง (Linear) ==
== เส้นตรง (Linear) ==


=== 1. ความชันของเส้นตรง ===
=== 1. ความชันของเส้นตรง ===
'''ความชัน (slope''' หรือ '''gradient)''' ของเส้นตรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลต่างของ <math> y</math> เทียบกับผลต่างของ <math> x</math> ซึ่งนิยามได้ดังนี้
<blockquote>
'''บทนิยาม''' ให้เส้นตรง <math> \ell</math> เป็นเส้นตรงที่ลากผ่านจุด <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> โดยที่ <math>x_{1}\ne y_{2}</math> และให้ <math>m</math> แทนความชันของเส้นตรงจะได้ว่า <math>m=\frac{\Delta y}{\Delta x}=\frac{y_{2}-y_{1}}{x_{2}-x_{1}}=tan \theta</math>
'''บทนิยาม''' ให้เส้นตรง <math> \ell</math> เป็นเส้นตรงที่ลากผ่านจุด <math>P(x_{1},y_{1})</math> และ <math>Q(x_{2},y_{2})</math> โดยที่ <math>x_{1}\ne y_{2}</math> และให้ <math>m</math> แทนความชันของเส้นตรงจะได้ว่า <math>m=\frac{\Delta y}{\Delta x}=\frac{y_{2}-y_{1}}{x_{2}-x_{1}}=tan \theta</math>
</blockquote>ความสัมพันธ์ของความชันของเส้นตรง

1. ถ้าเส้นตรง 2 เส้นใด ๆ ตั้งฉากกันแล้ว <math>m_{1}m_{2}=-1</math>

2. ถ้าเส้นตรง 2 เส้นใด ๆ ขนานกันแล้ว <math>m_{1}=m_{2}</math>


=== 2. สมการเส้นตรง ===
=== 2. สมการเส้นตรง ===
สำหรับสมการเส้นตรงนั้นจะเขียนได้ 3 แบบ คือ
สำหรับสมการเส้นตรงนั้นจะเขียนได้ 3 แบบ คือ


'''2.1 สมการของเส้นตรง (Linear equation)'''
'''2.1 สมการของเส้นตรง (Linear equation)'''
<math>y-y_{1}=m(x-x_{1})</math>
'''2.2 สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน (Standard Form)'''
'''<math>y=mx+c</math>''' เมื่อ <math>c</math> คือ ระยะตัดแกน <math>Y</math>
'''2.3 สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป (General form of linear equation)'''
'''<math>Ax+By+C=0</math>'''
จากสมการ 2.3 เมื่อเทียบกับสมการ 2.2 จะได้ ความชัน คือ <math>m=-\frac{A}{B}</math> และระยะตัดแกน คือ ''<math>c=-\frac{C}{B}</math>''


<math>y-y_{1}=m(x-x_{1})</math>


'''2.2 สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน (Standard Form)'''
'''ตัวอย่างเช่น : จงหาสมการเส้นตรงที่ลากผ่านจุด <math> (-2,9)</math> และ <math> (3,-11)</math>'''


<u>'''วิธีทำ'''</u> เนื่องจาก ความชันของเส้นตรง คือ <math>m=\frac{(9)-(-11)}{(-2)-(3)}=\frac{20}{-5}=-4</math>
'''<math>y=mx+c</math>''' เมื่อ <math>c</math> คือ ระยะตัดแกน <math>Y</math>


'''2.3 สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป (General form of linear equation)'''
จากสมการเส้นตรง <math>y-y_{1}=m(x-x_{1})</math>

จะได้สมการในรูปทั่วไปคือ <math>y-(-11)=(-4)(x-3)</math>

<math>y+11=-4x+12</math>

<math>y+4x-1=0</math>

และจะได้สมการในรูปมาตรฐาน คือ <math>y=-4x+1</math>

ดังนั้น สมการเส้นตรงที่ลากผ่านจุด <math> (-2,9)</math> และ <math> (3,-11)</math> คือ <math>y+4x-1=0</math> หรือ <math>y=-4x+1</math> #


===== ความสัมพันธ์ของความชันของเส้นตรง =====
'''<math>Ax+By+C=0</math>'''
1. สำหรับเส้นตรง <math>L_{1}</math>และ <math>L_{2}</math> ใด ๆ ที่มีเส้นใดเส้นหนึ่งไม่ขนานกับแกน <math>X</math> ถ้า <math>L_{1}\perp L_{2}</math> (ตั้งฉากกัน) แล้ว <math>m_{1}m_{2}=-1</math>


2. สำหรับเส้นตรง <math>L_{1}</math>และ <math>L_{2}</math> ใด ๆ ถ้า <math>L_{1}\mid \mid L_{2}</math> (ขนานกัน) แล้ว <math>m_{1}=m_{2}</math>
จากสมการ 2.3 เมื่อเทียบกับสมการ 2.2 จะได้ ความชัน คือ <math>m=-\frac{A}{B}</math> และระยะตัดแกน คือ ''<math>c=-\frac{C}{B}</math>''


4.2 สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด <math>(x_{1},y_{1})</math> และมีความชันเท่ากับ m
3. ถ้าเส้นตรง <math>L_{1}</math> ขนานกับแกน <math>X</math> แล้ว <math>m=0</math>
พักก่อน 25/7/62 เสร็จแน่


== ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงและจุด ==
m=-A/B
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรง 3x + 4y - 5 = 0
วิธีทำ4y = -3x + 5
y = -(-3/4)x +(5/4)
 ความชันคือ -3/4
4.5 เส้นตรง l1 ขนานกับ l2 ก็ต่อเมื่อ m1=m2
เส้นตรง l1 ตั้งฉากกับ l2 ก็ต่อเมื่อ m1m2 = -1


5. การหาระยะทางจากจุดไปยังเส้นตรง
=== 1. ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด ===
'''ทฤษฎีบทที่ 4''' ระยะห่างระหว่างเส้นตรง '''<math>L_{1} : Ax+By+C=0</math>''' และจุด <math>(x_{1},y_{1})</math> คือ <math>d=\frac{|Ax_{1}+By_{1}+C|}{\sqrt{A^{2}+B^{2}}}</math>
กำหนดให้ l เป็นเส้นตรงที่มีสมการ Ax + By + C = 0 และ P(x1,y1) เป็นที่อยู่นอกเส้น l ดังรูป
ถ้าหาก <math>d=0</math> แล้วนั่นหมายความว่า จุด <math>(x_{1},y_{1})</math> อยู่บนเส้นตรง '''<math>L_{1} : Ax+By+C=0</math>''' หรือก็คือระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุดเท่ากับ '''<math>0</math>'''


=== 2. ระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ขนานทั้งสองเส้น ===
P(x1,y1)
'''ทฤษฎีบทที่ 5''' ระยะห่างระหว่างเส้นตรง '''<math>L_{1} : Ax+By+C_{1}=0</math>''' และเส้นตรง <math>L_{2} : Ax+By+C_{2}=0</math> คือ <math>d=\frac{|C_{1}-C_{2}|}{\sqrt{A^{2}+B^{2}}}</math>
d l
Ax + By + C = 0


=== 3. การหาพื้นที่รูป <math>n</math> เหลี่ยม ===
'''ทฤษฎีบทที่ 6''' ให้จุด <math>(x_{1},y_{1}), (x_{2},y_{2}), (x_{3},y_{3}), ... , (x_{n-1},y_{n-1})</math> และ <math>(x_{n},y_{n})</math> พิกัดแต่ละจุดของรูป <math>n</math> เหลี่ยมซึ่งเริ่มนับจาก <math>(x_{1},y_{1})</math> จนไปถึง <math>(x_{n},y_{n})</math> ในทิศทางทวนเข็นนาฬิกาแล้ว สูตรการหาพื้นที่รูป <math>n</math> เหลี่ยม คือ <math>\frac{1}{2}\begin{vmatrix} x_{1} & y_{1} \\ x_{2} & y_{2} \\ x_{3} & y_{3} \\ \vdots & \vdots \\ x_{n} & y_{n} \\ x_{1} & y_{1} \end{vmatrix}</math> โดยใช้หลักการคูณลง - คูณขึ้น เช่นเดียวกับการหาดิเทอร์มิเนนท์ของเมตริกซ์<ref>https://www.gotoknow.org/posts/430327</ref>


== บรรณานุกรม ==
ถ้า d เป็นระยะทางจากจุด P ไปยังเส้นตรง l
https://www.gotoknow.org/posts/430327


http://scimath.org/ebook/math/m4a/vol2/
d = Ax1 + By1 + C
 A2 + B2
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตวิเคราะห์| ]]
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตวิเคราะห์| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:31, 23 กรกฎาคม 2562

225.994x225.994px

เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่กล่าวถึงจุดบนระนาบ (point and plane) ซึ่งเป็น การศึกษาความสัมพันธ์ของเรขาคณิตและพีชคณิต (นำพีชคณิตมาแก้ปัญหาเชิงเรขาคณิต)

สำหรับเรขาคณิตวิเคราะห์จะแบ่งได้เป็น 3 ตอน คือ ระบบพิกัดฉาก จุด และเส้นตรง

ระบบพิกัดฉาก (Rectangular coordinate system)

ระบบแกนพิกัดฉาก (Rectangular coordinate system) คือ ระบบที่บอกพิกัดของจุดด้วยระยะห่างจากแกน (เส้นตรง) ที่ตัดกันเป็นมุมฉาก โดยแกนในแนวนอน เรียกว่าแกน และแกนในแนวตั้ง เรียกว่าแกน ซึ่งมีจุดที่แกนทั้งสองตัดกัน เรียกว่า จุดกำเนิด (Origin) เขียนแทนด้วย ซึ่งคือจุด นั่นเอง ทำหน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นของการนับระยะบนแกนทั้งสอง

และจากการตัดกันของระนาบทั้งสองทำให้ได้พื้นที่จากการตัดกันได้ 4 พื้นที่ เรียกแต่ละพื้นที่นี้ว่า จตุภาค หรือ ควอดรันต์ (Quadrant) ซึ่งจะบ่งบอกตำแหน่งของพิกัดนั่นเอง โดยแต่ละจตุภาคจะแบ่งเป็นประจุของจำนวนจริงได้ดังนี้

จตุภาคที่ 1 : เช่น

จตุภาคที่ 2 : เช่น

จตุภาคที่ 3 : เช่น

จตุภาคที่ 4 : เช่น

ซึ่งจะนับจตุภาคที่ 1 ในส่วนพื้นที่บนขวา แล้ววนทวนเข็มนาฬิกา


จุด (Point)

สำหรับการวิเคราะห์จุดจะแบ่งได้ดังนี้

1. การหาระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด

ทฤษฎีบทที่ 1 กำหนดให้  และ  เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ และให้  เป็นระยะห่างระหว่างจุด  และจุด  จะได้ว่า

2. จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด

ทฤษฎีบทที่ 2 กำหนดให้  และ  เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ  และให้  เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด  และจุด  ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง  แล้ว พิกัดของจุด  คือ 

3.จุดที่แบ่งระยะทางเป็นระยะ

ทฤษฎีบทที่ 3 กำหนดให้  และ  เป็น 2 จุดใด ๆ บนระนาบ  และให้  เป็นเป็นจุดที่แบ่งระยะทางเป็นสัดส่วนระยะ ระหว่างจุด  และจุด  ซึ่งอยู่บนส่วนของเส้นตรง  แล้ว พิกัดของจุด  คือ 

เส้นตรง (Linear)

1. ความชันของเส้นตรง

ความชัน (slope หรือ gradient) ของเส้นตรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลต่างของ เทียบกับผลต่างของ ซึ่งนิยามได้ดังนี้

บทนิยาม ให้เส้นตรง  เป็นเส้นตรงที่ลากผ่านจุด   และ  โดยที่  และให้  แทนความชันของเส้นตรงจะได้ว่า 

2. สมการเส้นตรง

สำหรับสมการเส้นตรงนั้นจะเขียนได้ 3 แบบ คือ

2.1 สมการของเส้นตรง (Linear equation)


2.2 สมการเส้นตรงในรูปมาตรฐาน (Standard Form)

 เมื่อ  คือ ระยะตัดแกน 

2.3 สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป (General form of linear equation)

 

จากสมการ 2.3 เมื่อเทียบกับสมการ 2.2 จะได้ ความชัน คือ  และระยะตัดแกน คือ


ตัวอย่างเช่น : จงหาสมการเส้นตรงที่ลากผ่านจุด และ

วิธีทำ เนื่องจาก ความชันของเส้นตรง คือ

จากสมการเส้นตรง

จะได้สมการในรูปทั่วไปคือ

และจะได้สมการในรูปมาตรฐาน คือ

ดังนั้น สมการเส้นตรงที่ลากผ่านจุด และ คือ หรือ #

ความสัมพันธ์ของความชันของเส้นตรง

1. สำหรับเส้นตรง และ ใด ๆ ที่มีเส้นใดเส้นหนึ่งไม่ขนานกับแกน ถ้า (ตั้งฉากกัน) แล้ว

2. สำหรับเส้นตรง และ ใด ๆ ถ้า (ขนานกัน) แล้ว

3. ถ้าเส้นตรง ขนานกับแกน แล้ว

ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงและจุด

1. ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด

ทฤษฎีบทที่ 4 ระยะห่างระหว่างเส้นตรง  และจุด  คือ 

ถ้าหาก แล้วนั่นหมายความว่า จุด อยู่บนเส้นตรง หรือก็คือระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุดเท่ากับ

2. ระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ขนานทั้งสองเส้น

ทฤษฎีบทที่ 5 ระยะห่างระหว่างเส้นตรง  และเส้นตรง  คือ 

3. การหาพื้นที่รูป เหลี่ยม

ทฤษฎีบทที่ 6 ให้จุด  และ  พิกัดแต่ละจุดของรูป  เหลี่ยมซึ่งเริ่มนับจาก  จนไปถึง  ในทิศทางทวนเข็นนาฬิกาแล้ว                                                                                                                                                                                  สูตรการหาพื้นที่รูป  เหลี่ยม คือ                                                                                                                                                                                                 โดยใช้หลักการคูณลง - คูณขึ้น เช่นเดียวกับการหาดิเทอร์มิเนนท์ของเมตริกซ์[1]

บรรณานุกรม

https://www.gotoknow.org/posts/430327

http://scimath.org/ebook/math/m4a/vol2/

  1. https://www.gotoknow.org/posts/430327