ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดโบสถ์ (อำเภอเมืองปทุมธานี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างเมื่อ พ.ศ.2164 โดยชาวมอญที่อพยพมามาจาก[เมืองหงสาวดีและเอาชื่อหมู่บ้านที่ตนอพยพมาอาศัยอยู่ ตั้งเป็นชื่อวัดและได้สร้างเสาหงษ์ขึ้นไว้เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี มีโบราณสถาน และโบราณวัตถุ คือสิ่งสำคัญอยู่คู่วัดโบสถ์ วิหารพระรามัญทรงเครื่อง (หลวงพ่อรามัญทรงเครื่อง) พระแสงอาญาสิทธิ์ ของเก่าแก่จากรามัญ ช้างสีเศียรใช้ติดตั้งประดับหัวเสา อายุเก่าแก่ถึง 150 ปี สร้างด้วยทองคำสัมฤทธอยู่ในโบสถ์เก่าของวัดและรูปปั้นสุนัขขย่าเหลหล่อด้วยตะกั่วที่อดีตเจ้าอาวาสได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ในครั้งที่เสด็จประภาสเมืองสามโคก ต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองปทุมธานี<ref name=":0" />
วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างเมื่อ พ.ศ.2164 โดยชาวมอญที่อพยพมามาจาก[เมืองหงสาวดีและเอาชื่อหมู่บ้านที่ตนอพยพมาอาศัยอยู่ ตั้งเป็นชื่อวัดและได้สร้างเสาหงษ์ขึ้นไว้เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี มีโบราณสถาน และโบราณวัตถุ คือสิ่งสำคัญอยู่คู่วัดโบสถ์ วิหารพระรามัญทรงเครื่อง (หลวงพ่อรามัญทรงเครื่อง) พระแสงอาญาสิทธิ์ ของเก่าแก่จากรามัญ ช้างสีเศียรใช้ติดตั้งประดับหัวเสา อายุเก่าแก่ถึง 150 ปี สร้างด้วยทองคำสัมฤทธอยู่ในโบสถ์เก่าของวัดและรูปปั้นสุนัขขย่าเหลหล่อด้วยตะกั่วที่อดีตเจ้าอาวาสได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ในครั้งที่เสด็จประภาสเมืองสามโคก ต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองปทุมธานี<ref name=":0" />


'''ประวัติวัดโบสถ์'''


<nowiki>------------------------------------------------------------------</nowiki>

วัดโบสถ์ตั้งอยู่เลขที่  ๙๖ บ้านโบสถ์  หมู่ ๕  ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัด  ๖๕  ไร่ ๒  งาน  ๓๔ ตารางวา  โฉนดที่ดินเลขที่  ๕๖๕๙

'''พื้นที่ตั้งวัด'''

         ด้านทิศเหนือติดกับที่ดินเอกชนและลำคลอง

         ด้านทิศใต้ติดกับคลองสาธารณประโยชน์

         ด้านทิศตะวันออกติดกับที่ดินเอกชน

         ด้านทิศตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา

'''สภาพของวัด'''

         เป็นที่ราบ การคมนาคมทางน้ำมีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางด้านทิศตะวันตก

'''ประวัติวัด'''

         ตามประวัติที่ค้นคว้าบันทึกได้ระบุไว้ว่า  เดิมชื่อวัดโบสถ์เชียงราก  เป็นวัดมอญเก่าแก่สร้างในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี   สมัยกรุงศรีอยุธยารุ่งเรืองนั้นพระมหากษัตริย์ไทยมักจะให้ชาวรามัญที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารไปปักหลักอาศัยอยู่แถบบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา  จากกรุงศรีอยุธยาลงมาโดยเฉพาะย่านสามโคก  เมืองปทุมธานีจึงเป็นศูนย์รวมของชาวรามัญที่มาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก

         ชาวรามัญที่อาศัยอยู่ ครั้นพอปักหลักปักฐานอยู่ดีมีสุขมักจะสร้างวัดไว้เป็นที่ระลึกหรือเอาไว้ประกอบศาสนพิธี  ดังนั้นในย่านอำเภอสามโคก  เมืองปทุมธานี วัดส่วนใหญ่จะเป็นชาวรามัญสร้างทั้งสิ้น กับอีกประการหนึ่งก็เพื่อใช้วัดเป็นสถานที่ศึกษาแก่กุลบุตรกุลธิดาด้วย  วัดในสมัยโบราณจึงเป็นศูนย์กลางของชุมชน   พระสงฆ์คือผู้สอน  ผู้เผยแผ่ธรรมเป็นที่เคารพศรัทธาของสาธุชนคนไทยเป็นอย่างมาก

         วัดโบสถ์เชียงรากใครสร้างไม่ปรากฏหลักฐาน  วัดสร้างเป็นสำนักสงฆ์มาก่อนจนพ.ศ.๒๑๖๔  ได้สร้างอุโบสถและผูกพัทธสีมา  และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา  พ.ศ.๒๑๖๗

         ปัจจุบันวัดโบสถ์ตั้งอยู่ตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดปทุมธานีหลังเก่า  หลังใหม่ย้ายไปอยู่ที่สี่แยกกลางเมืองปทุมธานี  วัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา  ทิศตะวันออก มีที่ดินทั้งหมด  ๖๕  ไร่ ๒  งาน  ๓๔ ตารางวา 

         วัดโบสถ์สันนิษฐานว่า  เป็นชาวรามัญที่อพยพมาจากหงสาวดีสร้างขึ้น หลักฐานอันปรากฏที่พอจะเชื่อถือได้ว่าเป็นชาวรามัญสร้างคือ  เสาหงส์ ซึ่งแสดงถึงสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี เป็นที่ทราบกันดีในหมู่ชาวรามัญว่า หากสร้างขึ้นจะต้องสร้าง เสาหงส์  ให้สาธุชนรุ่นหลังทราบ

         ในอดีตเสาหงส์เป็นเป็นเสาแปดเหลี่ยม  ลงรักปิดกระจกเป็นรูปใบโพธิ์ตลอดทั้งเสาบนยอดเสาหงส์มีรูปช้างสี่เศียร  ประดับด้วยบุษบกทำด้วยเนื้อทองสัมฤทธิ์  ปัจจุบันเสาหงส์ชุดรุดหมดแล้ว  คงเหลือแต่บุษบกรูปช้างสี่เศียรเท่านั้น

         บริเวณใกล้เคียงกับวัดโบสถ์  เดิมทีมีวัดอยู่อีกวัดหนึ่งคือ  วัดไกลนา หรือวัดกลางนา ซึ่งเป็นวัดร้าง  สมัยหลวงปู่เทียนเป็นเจ้าอาวาสทางราชการได้สั่งยุบวัดให้มารวมกับวัดโบสถ์เป็นวัดเดียวกัน  ปรากฏหลักฐานของวัดกลางนา  คืออุโบสถ และเจดีย์แบบมอญ ปัจจุบันยังมีให้เห็นอยู่ในพื้นที่บริเวณวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

         ในพื้นที่วัดโบสถ์ยังมีสถานศึกษาถึง ๓ แห่ง  สมัยหลวงปู่เทียนเป็นเจ้าอาวาส ท่านนอกจากจะเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัยแล้ว  ท่านยังเป็นพระผู้มองการณ์ไกลที่จะสร้างคนโดยเริ่มที่การศึกษาก่อน  ท่านจัดการศึกษาให้พระภิกษุสามเณรเรียนพระธรรมวินัย  ได้ส่งสอบธรรมสนามหลวงทุกปี  และชาวบ้านทั่วไปให้ได้รับการศึกษา จึงจัดตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาล  เช่น จัดสร้างวัดบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี และสร้างโรงเรียนประชาบาลวัดโบสถ์ (โรงเรียนวัดโบสถ์ บวรธรรมกิจ)  โรงเรียนประจำจังหวัดหญิง (โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี) โรงเรียนการเรือนหญิง ต่อมาเปลี่ยนเป็นวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี  ทั้ง ๓ โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่วัดโบสถ์ทั้งสิ้น

'''การศึกษา'''

         ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม  มาตลอดทุกปี

'''ถาวรวัตถุ'''

         ถาวรวัตถุมีดังต่อไปนี้  อุโบสถ กว้าง  ๘  เมตร ยาว  ๒๔  เมตร  กุฏิสงฆ์จำนวน  ๑๐ หลัง  ศาลาการเปรียญ วิหาร  ศาลาบำเพ็ญกุศล ๒ หลัง  ฌาปนสถาน หอระฆัง  มณฑป  ซุ้มประตูจัตุรมุข  ศาลาราย ๓ หลัง

'''ปูชนียวัตถุ'''

         วัดมีปูชนียวัตถุที่สำคัญคือ  พระประธานในอุโบสถ  ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๔ ศอก  พร้อมด้วยพระอัครสาวก พระรามัญทรงเครื่องในวิหารอายุ ๔๐๐  ปี หน้าตัก ๒ ศอก  รูปเหมือนหลวงปู่เทียนหล่อด้วยทองเหลืองเท่าองค์จริงในมณฑป

'''เหตุการณ์สำคัญ'''

         วันอังคารที่ ๑๗  กรกฎาคม ๒๕๔๔ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธาน พิธีเปิดมณฑปหลวงปู่เทียน อดีตเจ้าอาวาสวัดโบสถ์

         วันพฤหัสบดีที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖  สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในขณะดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์  ศาลาบูรพาจารย์ หลวงปู่เทียน ในการนี้ ทรงพระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธยย่อ  “มวก” ประดิษฐานที่ซุ้มประตูวัดและศาลาราย ๒  หลัง  ได้พระราชทานนามซุ้มว่า  “มหาวชิราลงกรณ์”

'''รายนามเจ้าอาวาส'''

         ๑-๓  ไม่ทราบนาม

         ๔. พระอธิการนวล

         ๕. พระครูบวรธรรมกิจ   พ.ศ. ๒๔๔๕-๒๕๐๙

         ๖. พระสมุห์ราตรี  ถาวโร พ.ศ.  ๒๕๐๙- ๒๕๔๑

         ๗ พระปลัดต่อศักดิ์  สุนทรวาที (รักษาการเจ้าอาวาส) ๒๕๔๓-๒๕๔๖

         ๘. พระมหานรินทร์ศักดิ์  สจฺจวาที  ๒๕๔๗-๒๕๖๐

          ๙. พระศากยปุตติยวงศ์  (ต่อศักดิ์ สุนทรวาที)  ๒๕๖๑-
https://www.facebook.com/watbot.lpt
https://www.facebook.com/watbot.lpt



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:08, 22 กุมภาพันธ์ 2562

วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2164 โดยชาวมอญที่อพยพมามาจาก[เมืองหงสาวดีและเอาชื่อหมู่บ้านที่ตนอพยพมาอาศัยอยู่ ตั้งเป็นชื่อวัดและได้สร้างเสาหงส์ขึ้นไว้เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี มีโบราณสถาน และโบราณวัตถุ คือสิ่งสำคัญอยู่คู่วัดโบสถ์ วิหารพระรามัญทรงเครื่อง (หลวงพ่อรามัญทรงเครื่อง) พระแสงอาญาสิทธิ์ ของเก่าแก่จากรามัญ ช้างสี่เศียรใช้ติดตั้งประดับหัวเสา อายุเก่าแก่ถึง 150 ปี สร้างด้วยทองคำสัมฤทธฺอยู่ในโบสถ์เก่าของวัดและรูปปั้นสุนัขย่าเหลหล่อด้วยตะกั่วที่อดีตเจ้าอาวาสได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5ในครั้งที่เสด็จประภาสเมืองสามโคก ต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองปทุมธานี


ประวัติวัดโบสถ์[1]

วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างเมื่อ พ.ศ.2164 โดยชาวมอญที่อพยพมามาจาก[เมืองหงสาวดีและเอาชื่อหมู่บ้านที่ตนอพยพมาอาศัยอยู่ ตั้งเป็นชื่อวัดและได้สร้างเสาหงษ์ขึ้นไว้เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี มีโบราณสถาน และโบราณวัตถุ คือสิ่งสำคัญอยู่คู่วัดโบสถ์ วิหารพระรามัญทรงเครื่อง (หลวงพ่อรามัญทรงเครื่อง) พระแสงอาญาสิทธิ์ ของเก่าแก่จากรามัญ ช้างสีเศียรใช้ติดตั้งประดับหัวเสา อายุเก่าแก่ถึง 150 ปี สร้างด้วยทองคำสัมฤทธอยู่ในโบสถ์เก่าของวัดและรูปปั้นสุนัขขย่าเหลหล่อด้วยตะกั่วที่อดีตเจ้าอาวาสได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ในครั้งที่เสด็จประภาสเมืองสามโคก ต่อมาเปลี่ยนเป็นเมืองปทุมธานี[1]

ประวัติวัดโบสถ์

------------------------------------------------------------------

วัดโบสถ์ตั้งอยู่เลขที่  ๙๖ บ้านโบสถ์  หมู่ ๕  ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัด  ๖๕  ไร่ ๒  งาน  ๓๔ ตารางวา  โฉนดที่ดินเลขที่  ๕๖๕๙

พื้นที่ตั้งวัด

         ด้านทิศเหนือติดกับที่ดินเอกชนและลำคลอง

         ด้านทิศใต้ติดกับคลองสาธารณประโยชน์

         ด้านทิศตะวันออกติดกับที่ดินเอกชน

         ด้านทิศตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา

สภาพของวัด

         เป็นที่ราบ การคมนาคมทางน้ำมีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางด้านทิศตะวันตก

ประวัติวัด

         ตามประวัติที่ค้นคว้าบันทึกได้ระบุไว้ว่า  เดิมชื่อวัดโบสถ์เชียงราก  เป็นวัดมอญเก่าแก่สร้างในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี   สมัยกรุงศรีอยุธยารุ่งเรืองนั้นพระมหากษัตริย์ไทยมักจะให้ชาวรามัญที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารไปปักหลักอาศัยอยู่แถบบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา  จากกรุงศรีอยุธยาลงมาโดยเฉพาะย่านสามโคก  เมืองปทุมธานีจึงเป็นศูนย์รวมของชาวรามัญที่มาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก

         ชาวรามัญที่อาศัยอยู่ ครั้นพอปักหลักปักฐานอยู่ดีมีสุขมักจะสร้างวัดไว้เป็นที่ระลึกหรือเอาไว้ประกอบศาสนพิธี  ดังนั้นในย่านอำเภอสามโคก  เมืองปทุมธานี วัดส่วนใหญ่จะเป็นชาวรามัญสร้างทั้งสิ้น กับอีกประการหนึ่งก็เพื่อใช้วัดเป็นสถานที่ศึกษาแก่กุลบุตรกุลธิดาด้วย  วัดในสมัยโบราณจึงเป็นศูนย์กลางของชุมชน   พระสงฆ์คือผู้สอน  ผู้เผยแผ่ธรรมเป็นที่เคารพศรัทธาของสาธุชนคนไทยเป็นอย่างมาก

         วัดโบสถ์เชียงรากใครสร้างไม่ปรากฏหลักฐาน  วัดสร้างเป็นสำนักสงฆ์มาก่อนจนพ.ศ.๒๑๖๔  ได้สร้างอุโบสถและผูกพัทธสีมา  และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา  พ.ศ.๒๑๖๗

         ปัจจุบันวัดโบสถ์ตั้งอยู่ตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัดปทุมธานีหลังเก่า  หลังใหม่ย้ายไปอยู่ที่สี่แยกกลางเมืองปทุมธานี  วัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา  ทิศตะวันออก มีที่ดินทั้งหมด  ๖๕  ไร่ ๒  งาน  ๓๔ ตารางวา 

         วัดโบสถ์สันนิษฐานว่า  เป็นชาวรามัญที่อพยพมาจากหงสาวดีสร้างขึ้น หลักฐานอันปรากฏที่พอจะเชื่อถือได้ว่าเป็นชาวรามัญสร้างคือ  เสาหงส์ ซึ่งแสดงถึงสัญลักษณ์แห่งเมืองหงสาวดี เป็นที่ทราบกันดีในหมู่ชาวรามัญว่า หากสร้างขึ้นจะต้องสร้าง เสาหงส์  ให้สาธุชนรุ่นหลังทราบ

         ในอดีตเสาหงส์เป็นเป็นเสาแปดเหลี่ยม  ลงรักปิดกระจกเป็นรูปใบโพธิ์ตลอดทั้งเสาบนยอดเสาหงส์มีรูปช้างสี่เศียร  ประดับด้วยบุษบกทำด้วยเนื้อทองสัมฤทธิ์  ปัจจุบันเสาหงส์ชุดรุดหมดแล้ว  คงเหลือแต่บุษบกรูปช้างสี่เศียรเท่านั้น

         บริเวณใกล้เคียงกับวัดโบสถ์  เดิมทีมีวัดอยู่อีกวัดหนึ่งคือ  วัดไกลนา หรือวัดกลางนา ซึ่งเป็นวัดร้าง  สมัยหลวงปู่เทียนเป็นเจ้าอาวาสทางราชการได้สั่งยุบวัดให้มารวมกับวัดโบสถ์เป็นวัดเดียวกัน  ปรากฏหลักฐานของวัดกลางนา  คืออุโบสถ และเจดีย์แบบมอญ ปัจจุบันยังมีให้เห็นอยู่ในพื้นที่บริเวณวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี

         ในพื้นที่วัดโบสถ์ยังมีสถานศึกษาถึง ๓ แห่ง  สมัยหลวงปู่เทียนเป็นเจ้าอาวาส ท่านนอกจากจะเป็นพระเถระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัยแล้ว  ท่านยังเป็นพระผู้มองการณ์ไกลที่จะสร้างคนโดยเริ่มที่การศึกษาก่อน  ท่านจัดการศึกษาให้พระภิกษุสามเณรเรียนพระธรรมวินัย  ได้ส่งสอบธรรมสนามหลวงทุกปี  และชาวบ้านทั่วไปให้ได้รับการศึกษา จึงจัดตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาล  เช่น จัดสร้างวัดบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี และสร้างโรงเรียนประชาบาลวัดโบสถ์ (โรงเรียนวัดโบสถ์ บวรธรรมกิจ)  โรงเรียนประจำจังหวัดหญิง (โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี) โรงเรียนการเรือนหญิง ต่อมาเปลี่ยนเป็นวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี  ทั้ง ๓ โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่วัดโบสถ์ทั้งสิ้น

การศึกษา

         ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม  มาตลอดทุกปี

ถาวรวัตถุ

         ถาวรวัตถุมีดังต่อไปนี้  อุโบสถ กว้าง  ๘  เมตร ยาว  ๒๔  เมตร  กุฏิสงฆ์จำนวน  ๑๐ หลัง  ศาลาการเปรียญ วิหาร  ศาลาบำเพ็ญกุศล ๒ หลัง  ฌาปนสถาน หอระฆัง  มณฑป  ซุ้มประตูจัตุรมุข  ศาลาราย ๓ หลัง

ปูชนียวัตถุ

         วัดมีปูชนียวัตถุที่สำคัญคือ  พระประธานในอุโบสถ  ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๔ ศอก  พร้อมด้วยพระอัครสาวก พระรามัญทรงเครื่องในวิหารอายุ ๔๐๐  ปี หน้าตัก ๒ ศอก  รูปเหมือนหลวงปู่เทียนหล่อด้วยทองเหลืองเท่าองค์จริงในมณฑป

เหตุการณ์สำคัญ

         วันอังคารที่ ๑๗  กรกฎาคม ๒๕๔๔ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธาน พิธีเปิดมณฑปหลวงปู่เทียน อดีตเจ้าอาวาสวัดโบสถ์

         วันพฤหัสบดีที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖  สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในขณะดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์  ศาลาบูรพาจารย์ หลวงปู่เทียน ในการนี้ ทรงพระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธยย่อ  “มวก” ประดิษฐานที่ซุ้มประตูวัดและศาลาราย ๒  หลัง  ได้พระราชทานนามซุ้มว่า  “มหาวชิราลงกรณ์”

รายนามเจ้าอาวาส

         ๑-๓  ไม่ทราบนาม

         ๔. พระอธิการนวล

         ๕. พระครูบวรธรรมกิจ   พ.ศ. ๒๔๔๕-๒๕๐๙

         ๖. พระสมุห์ราตรี  ถาวโร พ.ศ.  ๒๕๐๙- ๒๕๔๑

         ๗ พระปลัดต่อศักดิ์  สุนทรวาที (รักษาการเจ้าอาวาส) ๒๕๔๓-๒๕๔๖

         ๘. พระมหานรินทร์ศักดิ์  สจฺจวาที  ๒๕๔๗-๒๕๖๐

          ๙. พระศากยปุตติยวงศ์  (ต่อศักดิ์ สุนทรวาที)  ๒๕๖๑- https://www.facebook.com/watbot.lpt

https://www.youtube.com/watch?v=ncJMajmG_eo&t=14s

พระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)


คำเตือน: หลักเรียงลำดับปริยาย "วัดโบสถ์ ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี" ได้ลบล้างหลักเรียงลำดับปริยาย "โบสถ์ (เมืองปทุมธานี)" ที่มีอยู่ก่อนหน้า

  1. 1.0 1.1 http://admirationkmitl2015.blogspot.com/2015/07/blog-post_35.html