ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อมูลอภิพันธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่ควรใช้คำว่าข้อมูลอภิพันธุ์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ข้อมูลเมตา''' ({{lang-en|metadata}}) หมายถึง [[ข้อมูล]]หรือสารสนเทศที่ถูกจัดทำขึ้นอย่างมีโครงสร้างเพื่อใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ ในด้านลักษณะเนื้อหา และบริบทที่เกี่ยวข้องซึ่งได้แก่ลักษณะทางกายภาพและการผลิตทรัพยากรสารสนเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่ใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองการทำงาน คือ การสืบค้นและการบริหารจัดการ ซึ่งประกอบไปด้วยการกำหนดสิทธิในการใช้ การกำหนดความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การสงวนรักษา<ref>วิศปัตย์ ชัยช่วย, ลำปาง แม่นมาตย์, วิลาศ วูวงศ์, นิศาชล จำนงศรี (2560). การวิเคราะห์คุณลักษณะทางสารสนเทศเพื่อกำหนดองค์ประกอบเมทาดาตาของจารึก. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 28,1 DOI: <nowiki>http://dx.doi.org/10.14456/asj-psu.2017.4</nowiki></ref>

== หน้าที่ ==
== หน้าที่ ==
หน้าที่สำคัญของข้อมูลเมตา ซึ่งมีมาตั้งแต่ยุคแรกเริ่มในรูปของบัตรรายการ ก็คือการช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศหรือความรู้ที่ตรงกับความต้องการของตนเองได้ จนกระทั่งปัจจุบันที่ทรัพยากรสารสนเทศมีหลายรูปแบบและซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ข้อมูลเมตาต้องทำหน้าที่มากกว่าการเป็นบัตรรายการที่ช่วยให้ผู้ใช้เลือกหนังสือจากชั้นเท่านั้น หากยังต้องช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศอีกด้วย จัดกลุ่มตามวัตถุประสงค์ใหญ่ ๆ ได้ 3 หน้าที่หลัก<ref>Metadata scheme development for a digitized inscriptions management https://tise2015.kku.ac.th/drupal/?q=node/70</ref> ดังนี้
หน้าที่สำคัญของข้อมูลเมตา ซึ่งมีมาตั้งแต่ยุคแรกเริ่มในรูปของบัตรรายการ ก็คือการช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศหรือความรู้ที่ตรงกับความต้องการของตนเองได้ จนกระทั่งปัจจุบันที่ทรัพยากรสารสนเทศมีหลายรูปแบบและซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ข้อมูลเมตาต้องทำหน้าที่มากกว่าการเป็นบัตรรายการที่ช่วยให้ผู้ใช้เลือกหนังสือจากชั้นเท่านั้น หากยังต้องช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศอีกด้วย จัดกลุ่มตามวัตถุประสงค์ใหญ่ ๆ ได้ 3 หน้าที่หลัก<ref>Metadata scheme development for a digitized inscriptions management https://tise2015.kku.ac.th/drupal/?q=node/70</ref> ดังนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:20, 13 กุมภาพันธ์ 2562

หน้าที่

หน้าที่สำคัญของข้อมูลเมตา ซึ่งมีมาตั้งแต่ยุคแรกเริ่มในรูปของบัตรรายการ ก็คือการช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศหรือความรู้ที่ตรงกับความต้องการของตนเองได้ จนกระทั่งปัจจุบันที่ทรัพยากรสารสนเทศมีหลายรูปแบบและซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ข้อมูลเมตาต้องทำหน้าที่มากกว่าการเป็นบัตรรายการที่ช่วยให้ผู้ใช้เลือกหนังสือจากชั้นเท่านั้น หากยังต้องช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศอีกด้วย จัดกลุ่มตามวัตถุประสงค์ใหญ่ ๆ ได้ 3 หน้าที่หลัก[1] ดังนี้

  • การอธิบายและการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ (resource description and information retrieval)
  • การบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (administration and management of resources)
  • การทำงานร่วมกันระหว่างระบบ (interoperability)

ประเภท

โดยส่วนใหญ่แล้วนักวิชาการมักจะแบ่งประเภทของข้อมูลเมตาออกเป็น 3 ประเภทใหญ่[2] ตามหน้าที่หลักของข้อมูลเมตา คือ

  • ข้อมูลเมตาเพื่อการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ (descriptive metadata)
  • ข้อมูลเมตาเพื่อการบริหารทรัพยากรสารสนเทศ (administrative metadata)
  • ข้อมูลเมตาเพื่อการแสดงโครงสร้างของทรัพยากรสารสนเทศ (structural metadata)

อ้างอิง

  1. Metadata scheme development for a digitized inscriptions management https://tise2015.kku.ac.th/drupal/?q=node/70
  2. http://icadl2014.cmu.ac.th/download-info-Metadata_Dev.pdf/