ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seeyeesip (คุย | ส่วนร่วม)
→‎กำลังทหาร: เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Seeyeesip (คุย | ส่วนร่วม)
→‎กำลังทหาร: เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
ขณะนั้นถือได้ว่ากองทัพไทยเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนามแล้วนั้นถือได้ว่าเทียบกันไม่ติดเนื่องจากกองกำลังทางทหารของฝ่ายไทยไม่เคยผ่านการรบมาก่อนหรือถ้าผ่านก็เป็นการรบแบบสมัยใหม่ซึ่งมีแนวการรบแบบสหรัฐอเมริกาซึ่งแตกต่างกับเวียดนามซึ่งกองกำลังของเวียดนามมีทักษะในการรบที่ดีกว่าและรู้วิธีการรบแบบกองโจร นอกจากนี้ทหารของเวียดนามก็ยังมีประสบการณ์รบจาก[[สงครามเวียดนาม]] ขณะที่เวียดนามบุกกัมพูชานั้นกองกำลังทางทหารของเวียดนามมีจำนวน 875,000 คน โดยที่ยังไม่รวมกำลังทหารของฝ่ายเฮง สัมริน ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน ด้วยการรบแบบกองโจร และการรบแบบสมัยใหม่ ขณะที่ฝ่ายไทยนั้นมีประสบการณ์เพียงเรื่องการปราบปรามกองโจรและมีทหารหน่วยที่ผ่านสงครามในลาวและเวียดนามซึ่งชำนาญการรบแบบหลักนิยมของสหรัฐอเมริกา ซึ่งต้องมีอำนาจการยิงที่เหนือกว่าจึงจะทำการรบได้ นอกจากนี้เวียดนามยังมีอาวุธที่เหลือจากสงครามเวียดนามอยู่มาก รวมทั้งในระหว่างปี พ.ศ. 2521 - 2531 นี้เวียดนามได้รับความช่วยเหลือทางทหารจาก[[สหภาพโซเวียต]]เป็นจำนวนมหาศาล เพื่อพัฒนากองทัพให้ทันสมัยและเพื่อการปราบปรามฝ่ายต่อต่านในการกัมพูชา จึงกล่าวได้ว่าไทยมีขีดความสามารถที่ด้อยกว่าเวียดนามอยู่มาก
ขณะนั้นถือได้ว่ากองทัพไทยเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนามแล้วนั้นถือได้ว่าเทียบกันไม่ติดเนื่องจากกองกำลังทางทหารของฝ่ายไทยไม่เคยผ่านการรบมาก่อนหรือถ้าผ่านก็เป็นการรบแบบสมัยใหม่ซึ่งมีแนวการรบแบบสหรัฐอเมริกาซึ่งแตกต่างกับเวียดนามซึ่งกองกำลังของเวียดนามมีทักษะในการรบที่ดีกว่าและรู้วิธีการรบแบบกองโจร นอกจากนี้ทหารของเวียดนามก็ยังมีประสบการณ์รบจาก[[สงครามเวียดนาม]] ขณะที่เวียดนามบุกกัมพูชานั้นกองกำลังทางทหารของเวียดนามมีจำนวน 875,000 คน โดยที่ยังไม่รวมกำลังทหารของฝ่ายเฮง สัมริน ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน ด้วยการรบแบบกองโจร และการรบแบบสมัยใหม่ ขณะที่ฝ่ายไทยนั้นมีประสบการณ์เพียงเรื่องการปราบปรามกองโจรและมีทหารหน่วยที่ผ่านสงครามในลาวและเวียดนามซึ่งชำนาญการรบแบบหลักนิยมของสหรัฐอเมริกา ซึ่งต้องมีอำนาจการยิงที่เหนือกว่าจึงจะทำการรบได้ นอกจากนี้เวียดนามยังมีอาวุธที่เหลือจากสงครามเวียดนามอยู่มาก รวมทั้งในระหว่างปี พ.ศ. 2521 - 2531 นี้เวียดนามได้รับความช่วยเหลือทางทหารจาก[[สหภาพโซเวียต]]เป็นจำนวนมหาศาล เพื่อพัฒนากองทัพให้ทันสมัยและเพื่อการปราบปรามฝ่ายต่อต่านในการกัมพูชา จึงกล่าวได้ว่าไทยมีขีดความสามารถที่ด้อยกว่าเวียดนามอยู่มาก
แต่ก็ได้รับความช่วยเหลือจากจีนในขณะนั้นซึ่งมีนโยบายที่ขัดแย้งกับสหภาพโซเวียตในทะเลจีนใต้
แต่ก็ได้รับความช่วยเหลือจากจีนในขณะนั้นซึ่งมีนโยบายที่ขัดแย้งกับสหภาพโซเวียตในทะเลจีนใต้
นำมาซึ่งการส่งกระสุนปืนใหญ่ เมื่อเสียงปืนใหญ่จากฝั่งไทยดังขึ้นอีกครั้งเวียดนามจึงตระหนักว่าไม่ทางบุกไทยได้แน่นอน เนื่องจากทางเหนือของเวียดนามมีกองทัพจีนที่ตั้งรับอเมริกาคอยกดดัน จนเวียดนามประกาศขอเจรจา จึงถือเป็นการยอมแพ้
นำมาซึ่งการส่งกระสุนปืนใหญ่ เมื่อเสียงปืนใหญ่จากฝั่งไทยดังขึ้นอีกครั้งเวียดนามจึงตระหนักว่าไม่มีทางบุกไทยได้แน่นอน เนื่องจากทางเหนือของเวียดนามมีกองทัพจีนที่ตั้งรับอเมริกาหลังจากที่เวียดนามชนะอเมริกาคอยกดดันเวียดนาม จนเวียดนามประกาศขอเจรจา จึงถือเป็นการยอมแพ้
==ก่อนเกิดสงคราม== อเมริกาประกาศจะช่วยเหลือไทยแต่ต้องแพ้เวียดนามอย่างยับเยิน ซึ่งสหภาพโซเวียตเห็นโอกาสที่จะขยายลัทธิคอมมิวนิสต์
จึงนำทหารเวียดนามบุกลาวและกัมพูชาและประกาศยึดไทย ซึ่งทางด้านจีนไม่สนับสนุนการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์แบบโซเวียต จึงให้การสนับสนุนไทยอย่างลับๆ และส่งทหารเข้ารุกทางเหนือของเวียดนามเหนือเพื่อผลประโยชน์ทางทะเลจีนใต้
==สาเหตุ==สหภาพโซเวียตต้องการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการสนับสนุนเวียดนามนำโดยโฮจิมิน แต่ขัดแย้งกับจีน เรื่องลัทธิและรูปแบบการใช้อำนาจ ซึ่งจีนค่อนข้างจะรักษาผลประโยชน์มากกว่าการขยายขอบเขตอำนาจ จ


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:12, 2 มกราคม 2562

การบุกรุกชายแดนไทยของเวียดนาม
ส่วนหนึ่งของ สงครามกัมพูชา-เวียดนามและสงครามเย็น
วันที่พ.ศ. 2522 - 2532
สถานที่
ชายแดนไทย-กัมพูชา, อ่าวไทย
ผล เกิดเหตุปะทะกันระหว่างกองทัพไทยและกองทัพกัมพูชา ฐานกำลังกองโจรถูกทำลายจำนวนมาก
คู่สงคราม
 เวียดนาม
กัมพูชา กองกำลังปฏิวัติกัมพูชา
 ไทย
เขมรแดง
กัมพูชาแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมร
กัมพูชากองทัพแห่งชาติสีหนุ

เหตุปะทะชายแดนไทย-เวียดนามเกิดขึ้นเมื่อกำลังทหารเวียดนามบุกเข้ากัมพูชาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2521 เพื่อล้มล้างระบอบเขมรแดง กำลังทหารกัมพูชาส่วนใหญ่ได้อพยพมาอยู่ทางด้านตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศที่ติดกับชายแดนไทย โดยมีกลุ่มชาวกัมพูชาที่ต่อต้านการยึดครองของเวียดนามอยู่ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มกัมพูชาประชาธิปไตย (Democratic Kampuchea) หรือกลุ่มเขมรแดงของพล พต และเขียว สัมพันธ์ มีสมาชิกประมาณ 40,000 คน มีฐานที่ตั้งอยู่บริเวณพนมกระวันและบริเวณตะวันตกของจังหวัดพระตะบอง กลุ่มแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติของประชาชนเขมร (Khmer People’s National Liberation Front - KPNLE) ภายใต้การนำของซอนซาน มีสมาชิกประมาณ 4,000 คน และกลุ่มแนวร่วมแห่งชาติเพื่อเอกราช ความเป็นกลาง และสันติภาพในกัมพูชา (Front d"union national pour un Cambodge independant, pacifiaue et cooperatif - FUNCINPEC) ภายใต้การนำของสมเด็จนโรดม สีหนุ การที่กลุ่มต่อต้านทั้งสามกลุ่มนี้มีฐานกองกำลังใกล้กับชายแดนไทยเพื่อเป็นง่ายต่อการหลบหนีเมื่อกำลังเวียดนามบุกเข้ามา กำลังกัมพูชาก็หลบหลีกเข้าสู่ดินแดนไทย ในการนี้เวียดนามเห็นว่าไทยยินยอมให้ชาวกัมพูชาฝ่ายต่อต้านใช้พื้นที่เป็นที่หลบหนีและคุ้มกันการโจมตีของกำลังเวียดนามและกำลังของเฮง สัมริน

ปฏิบัติการที่สำคัญ

ค่ายที่พักของกำลังที่ต่อต้านเวียดนาม
  • การโจมตีบ้านโนนหมากมุ่น อำเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี ในวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2523 เวียดนามได้ส่งกองกำลังมากกว่า 2 กองร้อยล้ำเข้ามาในดินแดนไทยเข้าโจมตี การปะทะกันดังกล่าวก่อให้เกิดการบาดเจ็บและล้มตายทังสองฝ่าย
  • ช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2524 กองทัพเวียดนามและกำลังของของเฮง สัมริน ล่วงเข้าดินแดนไทยลึก 500 เมตร ที่หมู่บ้านสะแดง อำเภอตราพระยา จังหวัดปราจีนบุรี และได้ปะทะกับทหารไทย ทำให้ทหารไทยเสียชีวิต 2 นาย บาดเจ็บ 1 นาย และเมื่อวันที่ 3 มกราคม มีการยิงกระสุนอาวุธหนักเข้ามาในเขตไทย ทำให้เจ้าหน้าที่และราษฎรของไทยเสียชีวิตรวม 10 คน
  • กองทัพเวียดนามและกองกำลังของเฮง สัมริน ได้บุกเข้ามาในเขนไทยที่บ้านซับสารี ตำบลปะดง อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ในวันที่ 17 กุมพาพันธ์ พ.ศ. 2525และได้ปะทะกับตำรวจตระเวนชายแดน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 นาย และตลอดทั้งปีได้มีการลุกล้ำเข้ามาในเขตอธิปไตยของไทยหลายครั้ง
  • เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2526 เวียดนามได้ส่งกำลังโจมตีค่ายอพยพชาวกัมพูชาที่ตรงข้ามบ้านหนองจาน อำเภอตราพระยา จังหวัดปราจีนบุรี โดยได้เผาทำลายที่พักอาศัยและโรงพยาบาลจนหมดสิ้น มีชาวกัมพูชาบาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก ชาวกัมพูชาประมาณ 23, 000 คน ได้หลบหนีเข้ามาในอธิปไตยของไทย เวียดนามยังได้ยิงกระสุนปืนใหญ่เข้ามาตกในดินแดนไทยหลายสิบนัด เป็นผลให้ราษฎรไทยเสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง และบ้านเรือนได้รับความเสียหาย
  • ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม – 2 เมษายน พ.ศ. 2526 กำลังทหารเวียดนาม 1 กองพล สนับสนุนด้วยปืนใหญ่และรถถัง ได้เข้าโจมตีชาวกัมพูชาที่จังกาโก เขาพนมฉัตร และค่ายผู้อพยพตรงข้ามบ้านโคกทหาร ทำให้ชาวกัมพูชาเสียชีวิตหลายคน ที่พักและโรงพยาบาลถูกเผา และมีชาวกัมพูชาประมาณ 20,000 คนอพยพเข้าสู่เขตไทย
  • ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2527 เวียดนามได้ส่งกองกำลังเข้าโจมตีค่ายผู้อพยพของกัมพูชา ตรงข้ามกับหมู่บ้านสำโรงเกียรติ อำเภอขุนหาร จังหวัดศรีสะเกษ ทำให้ชาวกำพูชาหลายหมื่นคนได้อพยพเข้าสู่ดินแดนไทย และกองกำลังเวียดนาม 1 กองพันได้บุกรุกเข้าสู่ดินแดนไทยทางช่องเขาพระพะลัยและได้ปะทะกับทหารไทย ทำให้มีผู้เสียชีวิต 7 คน และบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง
  • ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2527 เวียดนามได้ส่งกองกำลังพร้อมด้วยปืนใหญ่ และรถถังเข้าโจมตีค่ายอพยพกัมพูชาที่หมู่บ้านตาตูม ค่ายผู้อพยพอัมปิล และค่ายผู้อพยพบ้านสุขสันต์ ทำให้มีชาวกัมพูชาประมาณ 80,000 คนอพยพเข้าสู่เขตไทย
  • ในช่วงปลายปี 2527 ถึงต้นปี 2528 ทหารเวียดนามได้เข้าโจมตีชุมนุมต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฝ่ายซอนซานตลอดแนวชายแดนไทย โดยสามารถยึดชุมนุมเหล่านี้ได้หมด ทำให้ชาวกัมพูชาได้อพยพเข่ามาในเขตไทยรวม 160,000 คน
  • ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ทหารเวียดนามได้เข้าโจมตีที่ตั้งหมวดตำรวจตระเวนชายแดนที่ 239 บ้านตระเวง อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ทำให้เจ้าหน้าไทยเสียชีวิต 18 นาย บาดเจ็บ 34 นาย
  • ในปีเดียวกัน ทหารของเวียดนามได้โจมตีค่ายอพยพที่บ้านหนองจาน และมีการปะทะกันทางทหารรัฐบาลผสม 3 ฝ่าย ติดต่อกันหลายวัน ทำให้ผู้อพยพชาวกัมพูชาได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์รวม 62 คน เสียชีวิต 6 คน ค่ายผู่อพยพถูกทำลายเสียหาย และส่งผลให้ผู้อพยพจำนวน 22,262 คน ได้อพยพเข้ามาในเขตไทย
  • ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ทหารเวียดนามได้ระดมกำลังโจมตีชุมนุมชาวกัมพูชาซึ่งเป็นกลุ่มเขมรแดง ทำให้ชาวกัมพูชาประมาณ 60,000 คน ได้หลบหนีเข้ามายังเขตไทยในช่วงเดือนกุมพาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม เวียดนามได้ปฏิบัติการอย่างรุนแรงที่สุด โดยในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ทหารเวียดนามได้ยิงปืนใหญ่เข้ามายังเขตไทยที่เนิน 347 อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ทำให้ทหารไทยเสียชีวิต 3 นาย บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก
  • ในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2528 กองทัพเวียดนามได้โจมตีฐานที่มันของไทยที่เนิน 361, 400 และ 427 โดยยึดพื้นที่บางส่วนของเนิน 361 ทหารไทยเสียชีวิต 7 นาย บาดเจ็บ 34 นาย และสูญหาย 3 นาย โดยก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน กองกำลังเวียดนามประมาณ 100 คนได้ลุกล้ำเขตเขตไทยที่อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากชายแดนไทย–กัมพูชา 10 กิโลเมตร และจับคุมราษฎรไทย 62 คน ฆ่าตาย 11 คน และทหารไทยที่ส่งไปช่วยราษฎรดังกล่าวได้ปะทะกับกองกำลังเวียดนามทำให้ทหารไทยเสียชีวิต 5 นาย
  • ในช่วงระหว่างวันที่ 5–10 มีนาคม พ.ศ. 2528 กองกำลังเวียดนามได้ยิงปืนใหญ่เข่ามาอย่างต่อเนื่อง และรุกล้ำดินแดนไทย ในพื้นที่อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ทำให้ราษฎรไทยกว่า 7,500 คน ต้องหลบภัยไปยังนื้นที่ปลอดภัยมีราษฎรเสียชีวิต 3 คน บ้านเรือนเสียหาย 40 หลังและโรงเรียนเสียหาย 1 แห่ง
  • ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2528 กองกำลังเวียดนามได้เข้าโจมตีฐานของเจ้านโรดม สีหนุในเขตกัมพูชา และรุกล้ำเข้ามาในเขตไทยในอำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ มีการปะทะกับทหารไทย ทำให้ทหารไทยเสียชีวิต 11 นาย บาดเจ็บ 68 นาย สูญหาย 3 นาย
  • ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2529 ทหารเวียดนามได้เข้ามาวางระเบิดในเขตไทยหลายครั้ง ซึ่งเป็นผลให้ทหารและราษฎรไทยบาดเจ็บและเสียชีวิต นอกจากนี้ก็ยังมีการรุกล้ำเข้ามายังเขตไทยหลายครั้ง

กำลังทหาร

ขณะนั้นถือได้ว่ากองทัพไทยเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนามแล้วนั้นถือได้ว่าเทียบกันไม่ติดเนื่องจากกองกำลังทางทหารของฝ่ายไทยไม่เคยผ่านการรบมาก่อนหรือถ้าผ่านก็เป็นการรบแบบสมัยใหม่ซึ่งมีแนวการรบแบบสหรัฐอเมริกาซึ่งแตกต่างกับเวียดนามซึ่งกองกำลังของเวียดนามมีทักษะในการรบที่ดีกว่าและรู้วิธีการรบแบบกองโจร นอกจากนี้ทหารของเวียดนามก็ยังมีประสบการณ์รบจากสงครามเวียดนาม ขณะที่เวียดนามบุกกัมพูชานั้นกองกำลังทางทหารของเวียดนามมีจำนวน 875,000 คน โดยที่ยังไม่รวมกำลังทหารของฝ่ายเฮง สัมริน ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน ด้วยการรบแบบกองโจร และการรบแบบสมัยใหม่ ขณะที่ฝ่ายไทยนั้นมีประสบการณ์เพียงเรื่องการปราบปรามกองโจรและมีทหารหน่วยที่ผ่านสงครามในลาวและเวียดนามซึ่งชำนาญการรบแบบหลักนิยมของสหรัฐอเมริกา ซึ่งต้องมีอำนาจการยิงที่เหนือกว่าจึงจะทำการรบได้ นอกจากนี้เวียดนามยังมีอาวุธที่เหลือจากสงครามเวียดนามอยู่มาก รวมทั้งในระหว่างปี พ.ศ. 2521 - 2531 นี้เวียดนามได้รับความช่วยเหลือทางทหารจากสหภาพโซเวียตเป็นจำนวนมหาศาล เพื่อพัฒนากองทัพให้ทันสมัยและเพื่อการปราบปรามฝ่ายต่อต่านในการกัมพูชา จึงกล่าวได้ว่าไทยมีขีดความสามารถที่ด้อยกว่าเวียดนามอยู่มาก แต่ก็ได้รับความช่วยเหลือจากจีนในขณะนั้นซึ่งมีนโยบายที่ขัดแย้งกับสหภาพโซเวียตในทะเลจีนใต้ นำมาซึ่งการส่งกระสุนปืนใหญ่ เมื่อเสียงปืนใหญ่จากฝั่งไทยดังขึ้นอีกครั้งเวียดนามจึงตระหนักว่าไม่มีทางบุกไทยได้แน่นอน เนื่องจากทางเหนือของเวียดนามมีกองทัพจีนที่ตั้งรับอเมริกาหลังจากที่เวียดนามชนะอเมริกาคอยกดดันเวียดนาม จนเวียดนามประกาศขอเจรจา จึงถือเป็นการยอมแพ้ ==ก่อนเกิดสงคราม== อเมริกาประกาศจะช่วยเหลือไทยแต่ต้องแพ้เวียดนามอย่างยับเยิน ซึ่งสหภาพโซเวียตเห็นโอกาสที่จะขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ จึงนำทหารเวียดนามบุกลาวและกัมพูชาและประกาศยึดไทย ซึ่งทางด้านจีนไม่สนับสนุนการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์แบบโซเวียต จึงให้การสนับสนุนไทยอย่างลับๆ และส่งทหารเข้ารุกทางเหนือของเวียดนามเหนือเพื่อผลประโยชน์ทางทะเลจีนใต้ ==สาเหตุ==สหภาพโซเวียตต้องการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการสนับสนุนเวียดนามนำโดยโฮจิมิน แต่ขัดแย้งกับจีน เรื่องลัทธิและรูปแบบการใช้อำนาจ ซึ่งจีนค่อนข้างจะรักษาผลประโยชน์มากกว่าการขยายขอบเขตอำนาจ จ

อ้างอิง

หนังสือ กัมพูชา นโยบายต่างประเทศไทยสมัย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อรอนงค์ น้อยวงศ์ เขียน