ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แหยม ยโสธร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์โดยสหมงคลฟิล์ม]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์โดยสหมงคลฟิล์ม]]
{{โครงภาพยนตร์}}
{{โครงภาพยนตร์}}
Hate Speech คืออะไร?

สำหรับ Hate Speech ถ้าแปลเป็นไทยก็คือ "วาจาที่สร้างความเกลียดชัง" เป็นปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในสังคมไทยขณะนี้ ที่มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก โดยแต่ละฝ่ายต่างก็ประดิษฐ์ถ้อยคำสร้างวาทกรรมแรง ๆ ออกมาโจมตีอีกฝ่ายเพื่อสร้างความเกลียดชังในสังคม อย่างที่เราคุ้นหูกันดีก็เช่นคำว่า "อำมาตย์", "ไพร่", "สลิ่ม", "วิปริตทางเพศ" ฯลฯ
What is hate speech?
อย่างไรก็ตาม Hate Speech ไม่ได้จำกัดว่าต้องถ้อยคำเท่านั้น แต่อาจมาในลักษณะที่เป็นภาพวาด ภาพเคลื่อนไหว คลิปวิดีโอ หรือการสื่อสารในรูปแบบอื่น ๆ ที่เป็นการแสดงออกถึงความเกลียดชังแบบแบ่งแยก อย่างภาพวาด บทกลอนเสียดสีฝ่ายต่าง ๆ ที่แชร์กันในเฟซบุ๊กก็ถือเป็น Hate Speech ด้วยเหมือนกัน
However hate speech is not limited only in a word but it can be in form of picture, video music or other medias we use to shoe our hatred

สิ่งที่จัดว่าเป็น Hate Speech นั้น จะต้องเป็นการแสดงความเกลียดชังต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอย่างชัดเจน มีการพุ่งเป้าแสดงความเกลียดชังในสิ่งที่เป็นอัตลักษณ์ร่วมของกลุ่ม อย่างเช่น เชื้อชาติ ศาสนา สีผิว สถานที่เกิด ที่อยู่อาศัย อุดมการทางการเมือง อาชีพ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายเพื่อการแบ่งแยกทางสังคม และขจัดคนอีกกลุ่มออกไป ไม่ว่าจะด้วยการขับไล่ไม่ให้มีที่ยืนในสังคม หรือการคุกคาม ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ฯลฯ

ทั้งนี้ Hate Speech จะแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ ตามความรุนแรงจากน้อยที่สุดไปมากที่สุด คือ

ระดับที่ 1 การตั้งใจแบ่งแยก กีดกัน สร้างความเป็นเขา-เราต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น เรียกผู้ชุมนุมคนเสื้อส้มว่า พวกควายส้ม

ระดับที่ 2 มีการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้นับถือศาสนาพุทธที่วัดแห่งหนึ่งว่า พวกเปรตห่มขาวเป็นมารสังคม
ระดับที่ 3 มีการยั่วยุให้เกิดการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น คำพูดที่ว่าฆ่าคนกลุ่มนี้ไม่บาป เพราะเป็นการช่วยเหลือประเทศชาติ

การจะแก้ปัญหา Hate Speech ให้ได้นั้น ต้องใช้วิธีการต่างกันในแต่ละระดับ เริ่มตั้งแต่ใช้วิธีการให้การศึกษา การสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นในสังคม ไปจนถึงการใช้บทลงโทษตามกฎหมาย


แล้วทำไมเราถึงต้องให้ความสนใจกับ Hate Speech ด้วยล่ะ?

หลายคนอาจมองว่า Hate Speech ก็แค่สิ่งที่ใช้โจมตีกล่าวร้ายอีกฝ่าย ดูไม่ใช่เรื่องที่ต้องใส่ใจมากนัก แต่ถ้ามองให้ลึก ๆ Hate Speech ก็อาจส่งผลกระทบมหาศาลได้อยู่เหมือนกัน เพราะ Hate Speech อาจเป็นการยั่วยุให้เกิดผลร้ายต่อผู้ใดผู้หนึ่งได้เลยในระดับทันที เช่น หากมีผู้ปลุกระดมให้คนลุกขึ้นมาทำร้ายฝ่ายตรงข้าม ก็ถือเป็นอาชญากรรม หรือหากมีผู้ใช้ Hate Speech ปลุกเร้าฝูงชนที่ขาดสติ ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งที่ตึงเครียด ก็อาจนำไปสู่การใช้ความรุนแรงเข้มข้นกว้างขวางจนเกิดสงครามกลางเมืองได้อย่างน่าตกใจ

นอกจากนี้ หากปล่อยให้มี Hate Speech เกิดขึ้น คำพูดเหล่านี้ก็จะถูกส่งต่อไปยังรุ่นหลัง ทำให้คนรุ่นหลังถูกปลูกฝังมาแบบเข้าใจผิด จนทำให้ความมีคุณธรรมในสังคมหยาบกระด้าง ในอนาคต คนเราอาจให้ความเคารพซึ่งกันและกันน้อยลง เกิดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ และเกิดอคติขึ้นในสังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวลใจไม่น้อยเลย


เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจะจัดการกับ Hate Speech อย่างไร?

แน่นอนว่า ในส่วนของสื่อมวลชนก็ต้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องคอยกำกับดูแล ขณะที่ชาวบ้านอย่างเรา ๆ ก็ต้องรู้เท่าทันสื่อ เปิดรับข้อมูลข่าวสารให้รอบด้าน และมีวิจารณญาณ โดยต้องรู้ว่าสื่อใดมีจุดยืนทางการเมืองอย่างไร

สำหรับโลกออนไลน์ ที่ซึ่งเผยแพร่และแชร์ Hate Speech ต่าง ๆ ได้รวดเร็วที่สุด ชาวเน็ตก็จะต้องไม่ช่วยกันบ่มเพาะความเกลียดชังที่จะทำให้เกิดความรุนแรงตามมา ง่าย ๆ ก็คือ การไม่กดไลค์ หรือคอมเม้นท์แบบเห็นด้วยต่อ Hate Speech นั้น และไม่ควรแชร์ หรือฟอร์เวิร์ด เพื่อส่งต่อความเกลียดชัง ที่สำคัญก็คือ ต้องคิดก่อนโพสต์ และหากจะตอบโต้กลับให้ตอบโต้ด้วยข้อเท็จจริงและเหตุผล เนื้อหาที่สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ไร้อคติ อย่าตอบโต้กันด้วยอารมณ์ เพื่อช่วยกันลดความเกลียดชัง

เห็นไหมว่า พวกเราทุกคนสามารถเป็นได้ทั้งผู้เผยแพร่ Hate Speech ขยายวงความเกลียดชัง อันเป็นผลให้เกิดความรุนแรงในสังคมตามมาได้ แต่หากเราเลือกที่จะ "หยุด" ไม่ส่งต่อการบ่มเพาะความเกลียดชังนั้น เราก็สามารถสร้างสังคมที่น่าอยู่ได้ด้วยสองมือของเราเช่นเดียวกัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:59, 21 พฤศจิกายน 2561

แหยม ยโสธร
กำกับหม่ำ จ๊กมก
นักแสดงนำหม่ำ จ๊กมก
นงนุช สมบูรณ์
ชัยพันธ์ นินกง
เยาวลักษณ์ ตุ้มบุญ
เทียมใจ วงษ์คำเหลา
อนุพงศ์ วงษ์คำเหลา
อนุวัฒน์ ทาระพันธ์
คำใส เชิญยิ้ม
เขมร ลูกหยี
สายสิน วงษ์คำเหลา
บริษัทผู้สร้าง
ผู้จัดจำหน่ายสหมงคลฟิล์ม
วันฉาย8 กันยายน พ.ศ. 2548
ความยาว98 นาที
ภาษาไทย/อีสาน
ต่อจากนี้แหยม ยโสธร 2
ข้อมูลจาก IMDb
ข้อมูลจากสยามโซน

แหยม ยโสธร เป็นภาพยนตร์ไทย เป็นภาพยนตร์รักย้อนยุค โดยมีฉากคือจังหวัดจังหวัดยโสธร สร้างโดย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล ดำเนินงานสร้างโดย บาแรมยู และ บั้งไฟฟิล์ม อำนวยการสร้างโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ควบคุมงานสร้างโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว, สุกัญญา วงศ์สถาปัตย์ บทภาพยนตร์และกำกับภาพยนตร์โดย หม่ำ จ๊กมก ออกฉายเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2548 ความพิเศษของภาพยนตร์เรื่องนี้อยู่ที่บทสนทนาเป็นภาษาไทยถิ่นอีสาน และมีซับไตเติ้ลเป็นภาษาไทย นอกจากนี้ภาพยนตร์เรื่อง แหยมยโสธร แม้จะเป็นภาพยนตร์ที่ใช้เงินลงทุนไม่มากแต่ก็ได้ขึ้นแท่นเป็นหนังตลกทำเงินเรื่องหนึ่งซึ่งมีรายได้สูงถึง 99.14 ล้านบาท

เรื่องย่อ

.

นักแสดง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง


แหล่งข้อมูลอื่น

Hate Speech คืออะไร?

         สำหรับ Hate Speech ถ้าแปลเป็นไทยก็คือ "วาจาที่สร้างความเกลียดชัง" เป็นปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในสังคมไทยขณะนี้ ที่มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก โดยแต่ละฝ่ายต่างก็ประดิษฐ์ถ้อยคำสร้างวาทกรรมแรง ๆ ออกมาโจมตีอีกฝ่ายเพื่อสร้างความเกลียดชังในสังคม อย่างที่เราคุ้นหูกันดีก็เช่นคำว่า "อำมาตย์", "ไพร่", "สลิ่ม", "วิปริตทางเพศ" ฯลฯ 

What is hate speech?

         อย่างไรก็ตาม Hate Speech ไม่ได้จำกัดว่าต้องถ้อยคำเท่านั้น แต่อาจมาในลักษณะที่เป็นภาพวาด ภาพเคลื่อนไหว คลิปวิดีโอ หรือการสื่อสารในรูปแบบอื่น ๆ ที่เป็นการแสดงออกถึงความเกลียดชังแบบแบ่งแยก อย่างภาพวาด บทกลอนเสียดสีฝ่ายต่าง ๆ ที่แชร์กันในเฟซบุ๊กก็ถือเป็น Hate Speech ด้วยเหมือนกัน

However hate speech is not limited only in a word but it can be in form of picture, video music or other medias we use to shoe our hatred

         สิ่งที่จัดว่าเป็น Hate Speech นั้น จะต้องเป็นการแสดงความเกลียดชังต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลอย่างชัดเจน มีการพุ่งเป้าแสดงความเกลียดชังในสิ่งที่เป็นอัตลักษณ์ร่วมของกลุ่ม อย่างเช่น เชื้อชาติ ศาสนา สีผิว สถานที่เกิด ที่อยู่อาศัย อุดมการทางการเมือง อาชีพ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายเพื่อการแบ่งแยกทางสังคม และขจัดคนอีกกลุ่มออกไป ไม่ว่าจะด้วยการขับไล่ไม่ให้มีที่ยืนในสังคม หรือการคุกคาม ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ฯลฯ

ทั้งนี้ Hate Speech จะแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ ตามความรุนแรงจากน้อยที่สุดไปมากที่สุด คือ

         ระดับที่ 1 การตั้งใจแบ่งแยก กีดกัน สร้างความเป็นเขา-เราต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น เรียกผู้ชุมนุมคนเสื้อส้มว่า พวกควายส้ม
         ระดับที่ 2 มีการยั่วยุให้เกิดความเกลียดชังต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้นับถือศาสนาพุทธที่วัดแห่งหนึ่งว่า พวกเปรตห่มขาวเป็นมารสังคม
         ระดับที่ 3 มีการยั่วยุให้เกิดการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น คำพูดที่ว่าฆ่าคนกลุ่มนี้ไม่บาป เพราะเป็นการช่วยเหลือประเทศชาติ
         การจะแก้ปัญหา Hate Speech ให้ได้นั้น ต้องใช้วิธีการต่างกันในแต่ละระดับ เริ่มตั้งแต่ใช้วิธีการให้การศึกษา การสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นในสังคม ไปจนถึงการใช้บทลงโทษตามกฎหมาย 


แล้วทำไมเราถึงต้องให้ความสนใจกับ Hate Speech ด้วยล่ะ?
         หลายคนอาจมองว่า Hate Speech ก็แค่สิ่งที่ใช้โจมตีกล่าวร้ายอีกฝ่าย ดูไม่ใช่เรื่องที่ต้องใส่ใจมากนัก แต่ถ้ามองให้ลึก ๆ Hate Speech ก็อาจส่งผลกระทบมหาศาลได้อยู่เหมือนกัน เพราะ Hate Speech อาจเป็นการยั่วยุให้เกิดผลร้ายต่อผู้ใดผู้หนึ่งได้เลยในระดับทันที เช่น หากมีผู้ปลุกระดมให้คนลุกขึ้นมาทำร้ายฝ่ายตรงข้าม ก็ถือเป็นอาชญากรรม หรือหากมีผู้ใช้ Hate Speech ปลุกเร้าฝูงชนที่ขาดสติ ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งที่ตึงเครียด ก็อาจนำไปสู่การใช้ความรุนแรงเข้มข้นกว้างขวางจนเกิดสงครามกลางเมืองได้อย่างน่าตกใจ
         นอกจากนี้ หากปล่อยให้มี Hate Speech เกิดขึ้น คำพูดเหล่านี้ก็จะถูกส่งต่อไปยังรุ่นหลัง ทำให้คนรุ่นหลังถูกปลูกฝังมาแบบเข้าใจผิด จนทำให้ความมีคุณธรรมในสังคมหยาบกระด้าง ในอนาคต คนเราอาจให้ความเคารพซึ่งกันและกันน้อยลง เกิดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ และเกิดอคติขึ้นในสังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวลใจไม่น้อยเลย


เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจะจัดการกับ Hate Speech อย่างไร? 
         แน่นอนว่า ในส่วนของสื่อมวลชนก็ต้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องคอยกำกับดูแล ขณะที่ชาวบ้านอย่างเรา ๆ ก็ต้องรู้เท่าทันสื่อ เปิดรับข้อมูลข่าวสารให้รอบด้าน และมีวิจารณญาณ โดยต้องรู้ว่าสื่อใดมีจุดยืนทางการเมืองอย่างไร
         สำหรับโลกออนไลน์ ที่ซึ่งเผยแพร่และแชร์ Hate Speech ต่าง ๆ ได้รวดเร็วที่สุด ชาวเน็ตก็จะต้องไม่ช่วยกันบ่มเพาะความเกลียดชังที่จะทำให้เกิดความรุนแรงตามมา ง่าย ๆ ก็คือ การไม่กดไลค์ หรือคอมเม้นท์แบบเห็นด้วยต่อ Hate Speech นั้น และไม่ควรแชร์ หรือฟอร์เวิร์ด เพื่อส่งต่อความเกลียดชัง ที่สำคัญก็คือ ต้องคิดก่อนโพสต์ และหากจะตอบโต้กลับให้ตอบโต้ด้วยข้อเท็จจริงและเหตุผล เนื้อหาที่สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ไร้อคติ อย่าตอบโต้กันด้วยอารมณ์ เพื่อช่วยกันลดความเกลียดชัง
         เห็นไหมว่า พวกเราทุกคนสามารถเป็นได้ทั้งผู้เผยแพร่ Hate Speech ขยายวงความเกลียดชัง อันเป็นผลให้เกิดความรุนแรงในสังคมตามมาได้ แต่หากเราเลือกที่จะ "หยุด" ไม่ส่งต่อการบ่มเพาะความเกลียดชังนั้น เราก็สามารถสร้างสังคมที่น่าอยู่ได้ด้วยสองมือของเราเช่นเดียวกัน